Page 41 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 41

17


               หน้าที่ให้บริการสาธารณสุขโดยไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะระหวํางบุคลากรที่มีสถานะเป็นแพทย๑ กับ บุคลากรที่

               มีสถานะอื่น คือ ทันตแพทย๑ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย๑ นักเทคนิคการแพทย๑
               นักวิทยาศาสตร๑การแพทย๑ นักกายภาพบ าบัด นักกิจกรรมบ าบัด นักเวชศาสตร๑การสื่อความหมาย นักจิตวิทยา

               นักจิตวิทยาคลินิก และนักวิชาการสาธารณสุข ท าให๎ผู๎ร๎องกับพวกได๎รับผลกระทบในเรื่องความก๎าวหน๎าในสาย

               งานพยาบาล ทั้งที่เป็นบุคลากรต าแหนํงสายงานที่ท าหน๎าที่ให๎บริการสาธารณสุขเชํนเดียวกัน โดยที่สายงาน
               พยาบาลมิได๎ประสงค๑ที่จะต๎องเป็นระดับเชี่ยวชาญทุกคนดังเชํนสายงานแพทย๑ เพียงเพื่อให๎พิจารณาปรับ

               ต าแหนํงหัวหน๎าพยาบาล (พยาบาลวิชาชีพ 8 วช.) ในสํวนที่ยังมิได๎ด าเนินการในเรื่องโรงพยาบาลชุมชนซึ่งมี

               เพียงโรงพยาบาลละ 1 ต าแหนํง ให๎ครบถ๎วนเทํานั้น นอกจากนี้ การที่ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได๎มี
               หนังสือขอให๎สํวนราชการในสังกัดระงับการใช๎ต าแหนํงวําง เพื่อน าต าแหนํงวํางดังกลําวมาใช๎บรรจุแตํงตั้ง

               นักเรียนทุนของรัฐบาลในสายงานแพทย๑ และทันตแพทย๑ เป็นการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อบุคลากรต าแหน่ง
               สายงานอื่นที่ท าหน้าที่ให้บริการสาธารณสุข


                       2) ค าร้องที่ 487/2554: กรณีค าสาบานตนก่อนเบิกความในศาลของแต่ละศาสนามีความแตกต่าง

               กัน

                       ผู๎ร๎องอ๎างวํา การสาบานตนกํอนเบิกความตามข๎อความในแบบพิมพ๑ของศาล ซึ่งให๎ผู๎ร๎องสาบานวํา
               “หากข๎าพเจ๎า (พยาน)  เอาความเท็จมากลําวอ๎างแม๎แตํน๎อย ขอภยันตรายและความวิบัติทั้งปวงจงเกิดแกํ

               ข๎าพเจ๎า (พยาน)  และครอบครัว (พยาน)  โดยพลัน”  เป็นการละเมิดสิทธิของบุคคลในครอบครัว ขัดตํอ

               บทบัญญัติมาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
                       คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด๎านกฎหมายและการปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม

               พิจารณาข๎อเท็จจริงประกอบกับหลักกฎหมาย เชํน รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํงมาตรา
               112 วรรคหนึ่ง และ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 171 แล๎วเห็นวํา จากบทบัญญัติกฎหมายดังกลําว ผู๎ที่จะ

               ให๎การตํอศาลต๎องกลําวค าสาบานตนหรือค าปฏิญาณกํอนเบิกความ หากไมํปฏิบัติตามต๎องได๎รับโทษตามที่
               ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว๎ ซึ่งในการกลําวค าสาบานหรือค าปฏิญาณจะเป็นไปตามลัทธิทางศาสนาหรือ

               จารีตประเพณีที่แตํละคนนับถือ และเป็นเรื่องความนําเชื่อถือของพยาน ซึ่งศาลได๎ก าหนดรูปแบบตัวอยํางค า

               สาบานของแตํละศาสนาเพื่อความสะดวก คณะอนุกรรมการฯ มีข๎อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมตํอ
               ส านักงานศาลยุติธรรม ส านักงานศาลปกครอง และ กรมพระธรรมนูญ เพื่อพิจารณาถึงรูปแบบและแนว

               ทางการปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให๎เกิดความเป็นระบบในทุกชั้นศาลและเพื่อความเป็นสากล โดย

               ควรที่จะเป็นการเฉพาะตัวของบุคคลที่กลําวค าสาบาน ซึ่งไมํควรมีการอ๎างถึงครอบครัวในทุกศาสนา เพื่อให๎
               สอดคล๎องกับมาตรา 30 และ 35 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  คณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหํงชาติมีมติเห็นด๎วยกับความเห็นและข๎อเสนอแนะ เชิงนโยบายของคณะอนุกรรมการฯ
               (รายงานผลการพิจารณาที่ 647/2555)


                       3) ค าร้องที่ 72/2554: กรณีคนพิการไม่ได้รับสิทธิให้เข้าท าประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46