Page 444 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 444

420


                   ระหวํางการคุกคามทางเพศกับหลักความเทําเทียมกันและการไมํเลือกปฏิบัติ เพื่อนําไปสูํการวิเคราะห์
                   เปรียบเทียบกฎหมายตํางประเทศกับกฎหมายไทยที่เกี่ยวข๎องตํอไป





                           4.13.1 การคุ้มครองผู้ถูกคุกคามทางเพศในกรอบของการห้ามเลือกปฏิบัติ


                           กาคุกคามทางเพศ มีความหมายโดยทั่วไปคือการกลั่นแกล๎งรังแก หรือการบีบบังคับที่มีลักษณะ
                   เกี่ยวข๎องกับเรื่องทางเพศ รวมถึงการให๎สัญญาหรือสิ่งตอบแทนใดๆเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับการปฏิบัติ
                                      399
                   เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ  การคุกคามทางเพศอาจเกิดขึ้นในสภาพแวดล๎อมที่เกี่ยวข๎องกับการทํางานหรือ
                   เกิดขึ้นในสภาพแวดล๎อมของสังคมทั่วไป ประเด็นแรกที่มีความสําคัญอันควรชี้ให๎เห็นกํอนก็คือ

                   ความสัมพันธ์ระหวํางการคุกคามทางเพศกับหลักความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือกปฏิบัติตามกฎหมาย
                   สิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ


                           ในระดับกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ พบวํา การคุกคามมีความสัมพันธ์กับ “ความ
                   รุนแรง” และ “ความรุนแรง” จัดเป็นสํวนหนึ่งของ “การเลือกปฏิบัติ” โดยเฉพาะอยํางยิ่งความรุนแรงทาง
                   เพศซึ่งอยูํภายใต๎หลักเกณฑ์การเลือกปฏิบัติตํอเพศหญิง ดังจะเห็นได๎จาก อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการ
                   เลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Elimination of All Forms of Discrimination against Women –

                   CEDAW) ข๎อ 1. มีหลักวํา “เพื่อความมุํงประสงค์ของอนุสัญญานี้ คําวํา “การเลือกปฏิบัติตํอสตรี” จะ
                   หมายถึงการแบํงแยกการกีดกันหรือการจํากัดใดๆเพราะเหตุแหํงเพศซึ่งมีผลหรือความมุํงประสงค์ที่จะ
                   ทําลายหรือทําให๎เสื่อมเสียการยอมรับการได๎อุปโภคหรือการใช๎สิทธิโดยสตรีโดยไมํเลือกสถานภาพด๎านการ

                   สมรสบนพื้นฐานของความเสมอภาคของบุรุษและสตรีของสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในด๎านการเมือง
                   เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมพลเมืองหรือด๎านอื่นๆ”










                            ในการตีความอนุสัญญานี้ ปรากฏวําข้อเสนอแนะทั่วไปที่  19  ของคณะกรรมการขจัดการเลือก
                   ปฏิบัติต่อสตรี (CEDAW General Recommendation No.19) ให๎ความเห็นตํอมาตรา 1 ของอนุสัญญา
                   CEDAW ที่นิยามการเลือกปฏิบัติตํอสตรี  วํา “การเลือกปฏิบัติตํอสตรี  รวมถึงความรุนแรงบนพื้นฐานของ

                   เพศสภาพ ได๎แกํ ความรุนแรงที่กระทํา ตํอสตรีเพราะเธอเป็นผู๎หญิง หรือมีผลกระทบตํอสตรีอยํางรุนแรง
                   เป็นพิเศษ ซึ่งรวมถึงการทําร๎ายหรือทําให๎เจ็บปวดในทางรํางกาย จิตใจหรือทางเพศ การขํมขูํวําจะทําร๎าย



                   399  Michele Antoinette Paludi and Richard Barickman. Academic and Workplace Sexual Harassment
                   (SUNY Press, 1991), pp. 2–5.
   439   440   441   442   443   444   445   446   447   448   449