Page 443 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 443
419
คดีของศาลปกครองข๎างต๎นอาจเปรียบเทียบได๎กับกรณีที่ผู๎ร๎องร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหํงชาติเรื่องบุตรสาวถูกปฏิเสธการเข๎าศึกษาด๎วยเหตุมีปานบนใบหน๎า ซึ่งเหตุนี้เกี่ยวข๎องกับ “สภาพทาง
กาย” จากการตรวจสอบข๎อเท็จจริงพบวํา การที่บุตรสาวของผู๎ร๎องไมํผํานการสอบคัดเลือกนั้นเป็นผลจาก
คะแนนสอบ ไมํเกี่ยวข๎องกับปานบนใบหน๎าแตํอยํางใด (รายงานผลพิจารณาที่ 194/2557)
อาจสรุปได๎วํา กฎหมายไทยและกฎหมายสหรัฐอเมริกาตํางรับรองหลักความเสมอภาคไว๎
เชํนเดียวกัน สําหรับในมิติการศึกษานั้น บุคคลยํอมมีสิทธิในการศึกษาโดยปราศจากการแบํงแยกด๎วยเหตุ
แหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ สีผิว เพศ อยํางไรก็ตามศาลสหรัฐอเมริกานําปัจจัยตํางๆ มาประกอบการ
พิจารณานโยบายหรือมาตรการที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันหรือมีการแบํงแยกบุคคลในมิติการศึกษาด๎วย
ซึ่งอาจเปรียบเทียบได๎กับหลักความเสมอภาคเชิงสาระและหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม ในกรณีของ
ไทยนั้น ประเด็นการเลือกปฏิบัติในมิติการศึกษาที่เกี่ยวข๎องกับการจําแนกบุคคลตามเหตุแหํงการเลือก
ปฏิบัติที่เกี่ยวข๎องกับ “ถิ่นที่อยูํ” จากกรณีศึกษาดังกลําวข๎างต๎นนั้นไมํขัดหลักความเทําเทียมกันและไมํ
จัดเป็นการเลือกปฏิบัติเนื่องจากมีลักษณะเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก สําหรับการจําแนกบุคคลในมิติ
การศึกษาด๎วยเหตุแหํงเพศนั้นพบวํา ตามกฎหมายไทยปัจจุบันมีหลักการคุ๎มครองที่ครอบคลุมแล๎วแตํยังมี
ปัญหาการตีความในบางประเด็น เชํน โรงเรียนที่รับนักเรียนเฉพาะเพศนั้น อยูํบนพื้นฐานของเหตุผลอัน
สมควรหรือไมํ อยํางไร สําหรับประเด็นการเลือกปฏิบัติในมิติการศึกษาด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติอื่นๆ
โดยเฉพาะ เชื้อชาติ สัญชาติ นั้น กฎหมายไทยที่เป็นอยูํได๎วางหลักเกณฑ์การคุ๎มครองความเสมอภาคไว๎
ครอบคลุมแล๎ว นอกจากนี้ยังพบวํามีประเด็นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติอื่นๆ ในมิติการศึกษาของไทย ซึ่งใน
หลายกรณีไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนแตํอยํางใด
4.13 การเลือกปฏิบัติในกรณีการคุกคามทางเพศ (Sexual harassment)
ในหัวข๎อนี้จะได๎ศึกษาวิเคราะห์การคุกคามทางเพศ (Sexual harassment) ในบริบทของกฎหมาย
สิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการไมํเลือกปฏิบัติ โดยเริ่มจากชี้ให๎เห็นความสัมพันธ์