Page 441 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 441

417


                   ด้วยกฎหมาย” (Legitimate  Educational  Policy)  และ “ความสัมพันธ์อยํางมีนัยสําคัญและชอบธรรม

                   ระหวํางเปูาหมายและวิธีการ” (Fair and Substantial Relationship between Means and Ends) ซึ่ง
                   อาจจําแนกได๎สองกรณี


                           กรณีแรก การรับนักเรียนแบํงแยกตามเพศของโรงเรียนเฉพาะเพศนั้น แสดงถึงเหตุผลอันชอบด๎วย

                   กฎหมาย โดยมีความสัมพันธ์ระหวํางเปูาหมายและวิธีการ เชํน มีทฤษฎีทางสังคมศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

                   มารองรับถึงเหตุผลในการแบํงแยกโรงเรียนตามเพศ กรณีนี้การแบํงแยกโรงเรียนตามเพศจะไมํขัดตํอหลัก
                   ความเทําเทียมกัน


                           กรณีที่สอง การรับนักเรียนแบํงแยกตามเพศของโรงเรียนเฉพาะเพศนั้น ปราศจากเหตุผลอันชอบ

                   ด๎วยกฎหมาย ไมํมีความสัมพันธ์ระหวํางเปูาหมายและวิธีการ กรณีนี้การแบํงแยกโรงเรียนตามเพศจะขัดตํอ
                   หลักความเทําเทียมกัน



                           ด๎วยเหตุนี้ หากพิจารณาตามกรอบกฎหมายไทยปัจจุบันประกอบกับแนวการวินิจฉัยของศาล
                   สหรัฐอเมริกาดังกลําวข๎างต๎น จะเห็นได๎วํา การแบํงแยกนักเรียนตามเพศดังที่ปรากฏจากโรงเรียนของรัฐ

                   หลายแหํงของไทยนั้น โดยหลักแล๎วเป็นการปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงเพศ แตํต๎องพิจารณา
                   ตํอไปวํามีเหตุผลอันสมควรหรือไมํ อยํางไร



                           นอกจากการเลือกปฏิบัติในมิติการศึกษาที่เกี่ยวข๎องกับการจําแนกกลุํมบุคคลด๎วยเหตุถิ่นที่อยูํ เชื้อ
                   ชาติ สัญชาติ เพศ แล๎วยังอาจมีประเด็นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติอื่นๆ ในมิติการศึกษา ดังจะเห็นได๎จาก

                   การศึกษาคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พบวํามีหลายกรณีที่ผู๎ร๎องอ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติที่
                   เกี่ยวข๎องกับมิติด๎านการศึกษา เชํน


                           - กรณีผู๎ร๎องอ๎างวํา โรงเรียนไมํออกเอกสารแสดงการจบหลักสูตรสําหรับนักเรียนที่ยังค๎างคําบํารุง

                   การศึกษา (คําร๎องที่229/2555) กรณีนี้อาจพิจารณาได๎วําเป็นการปฏิบัติแตกตํางกันระหวํางนักเรียนที่ผําน
                   เกณฑ์มีสิทธิจบการศึกษาเหมือนกัน แตํบางคนที่ค๎างชําระคําบํารุงไมํได๎รับเอกสารการจบ แตํเหตุ “ค๎าง
                   ชําระคําบํารุง”  ไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน อยํางไรก็ตาม หากมี
                   ข๎อเท็จจริงวํา การไมํออกเอกสารจบหลักสูตรให๎กับนักเรียนบางคนมีความเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือก

                   ปฏิบัติ เชํน ไมํออกเอกสารให๎กับนักเรียนบางเชื้อชาติ เชํนนี้อาจเป็นการเลือกปฏิบัติได๎

                           - กรณีผู๎ร๎องร๎องวําถูกทางโรงเรียนเรียกเก็บเงินคําเทอม คนละ 27,000 บาท หากไมํจํายทาง

                   โรงเรียนให๎ลาออก หรือจะคัดชื่อออกจากโรงเรียน ซึ่งผู๎ร๎องอ๎างวําไมํเป็นไปตามกฎหมายที่มีสิทธิเรียนฟรี 12
                   ปี คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวํา กรณีนี้เป็นโรงเรียนทางเลือกที่มีการสอนตามหลักสูตรบูรณา
                   การ แตกต่างจากโรงเรียนที่สังกัดภายใต้การก ากับดูแลของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมี
                   สิทธิเรียกเก็บคําธรรมเนียมตามกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง จึงไมํปรากฏวํามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน (รายงานผล
   436   437   438   439   440   441   442   443   444   445   446