Page 440 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 440

416


                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กําหนดให๎รับนักเรียนในเขตพื้นที่ไมํน๎อยกวําร๎อยละ 50 ไมํ
                   เป็นการเลือกปฏิบัติและไมํกระทบตํอสิทธิของเด็กที่เข๎าศึกษา ซึ่งการกําหนดรับนักเรียนโดยอาศัยเกณฑ์

                   ทะเบียนราษฎรเป็นหลักนั้นเป็นการรับรองสิทธิ ไมํเป็นการจํากัดสิทธิจึงไมํมีการเลือกปฏิบัติแตํอยํางใด ...”
                   (รายงานผลการพิจารณาที่ 927-928/2558) กรณีนี้อาจจัดวําเป็นการปฏิบัติแตกตํางกันด๎วยเหตุ “ถิ่นที่อยูํ”
                   ทั้งนี้หากเปรียบเทียบกับ นโยบายการจัดสรรสิทธิเข๎าเรียนตามพื้นที่พักอาศัย (Neighborhood Policy) ใน
                   สหรัฐอเมริกาจะเห็นได๎วํา โดยหลักแล๎วนโยบายนี้เป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกัน แตํศาลนําปัจจัยตํางๆ มา

                   ประกอบการพิจารณา เชํน “ผลที่ทําให๎เกิดการแบํงแยกนักเรียนด๎วยเหตุเชื้อชาติ ศาสนา” “เจตนาในการ
                   แบํงแยก (Segregative Intent)” ซึ่งอาจจําแนกวิเคราะห์ได๎สองกรณีคือ


                           กรณีแรก หากมาตรการหรือนโยบายดังกลําว สํงผลให๎เกิดการแบํงแยก หรือแสดงวํามีเจตนา
                   แบํงแยก ก็จะเป็นการขัดตํอหลักความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ โดยนัยนี้จะเห็นได๎วําศาลพิจารณาความ
                   เทําเทียมกันในเชิงสาระ (Substantive Equality) และในการพิจารณาถึง “ผล” (Effect) นั้นก็สอดคล๎อง
                   กับหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม


                           กรณีที่สอง หากมาตรการหรือนโยบายดังกลําวไมํมีเจตนาหรือผลในการแบํงแยก แตํมีวัตถุประสงค์
                   เพื่อขจัดความไมํความสมดุลระหวํางเชื้อชาติ สีผิว (Racial Imbalance) ก็ไมํขัดตํอหลักความเทําเทียมกัน

                   โดยนัยนี้จะเห็นได๎วํา มาตรการหรือนโยบายดังกลําวมีลักษณะเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก
                   (Affirmative Actoin) นั่นเอง


                           นอกจากเหตุในด๎าน “ถิ่นที่อยูํ” ดังกลําวแล๎ว สําหรับประเด็นการเลือกปฏิบัติในมิติการศึกษาด๎วย
                   เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติอื่นๆ โดยเฉพาะ เชื้อชาติ สัญชาติ นั้นพบวํา กฎหมายไทยที่เป็นอยูํได๎วาง

                   หลักเกณฑ์การคุ๎มครองความเสมอภาคไว๎ครอบคลุมแล๎ว


                           ส าหรับกรณีการแบ่งแยกบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ ในมิติการศึกษานั้น เมื่อเปรียบเทียบกับ

                   สหรัฐอเมริกาแล๎วพบวํา ในประเทศไทยก็มีสถานศึกษาของรัฐที่รับบุคคลเฉพาะเพศ (Gender Segregated
                   School)  อยูํเป็นจํานวนมาก ทั้งโรงเรียนชายล๎วน และโรงเรียนหญิงล๎วน ซึ่งยังไมํปรากฏคําร๎องหรือคดีใน

                   ประเทศไทยที่ตัดสินประเด็นวํา โรงเรียนชายล๎วนหรือหญิงล๎วนนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติและขัดตํอหลักความ
                   เทําเทียมกันหรือไมํ หากพิจารณาจากหลักการตามกฎหมายเฉพาะที่กลําวมาจะเห็นได๎วํา การแบํงแยก

                   บุคคลด๎วยเหตุแหํงเพศในมิติการศึกษาโดยหลักแล๎วจะเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางบุคคลด๎วยเหตุ

                   แหํงเพศ นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบกับกรณีในสหรัฐอเมริกาจะเห็นได๎วํา แม๎ภาครัฐจะจัดให๎มีโรงเรียน
                   อื่นๆ นอกจากโรงเรียนเฉพาะเพศนั้น แตํเมื่อพิจารณาถึงผล (Effect)  แล๎วยังอาจเป็นการเลือกปฏิบัติตํอ

                   บุคคลได๎เชํนกัน อยํางไรก็ตามต๎องพิจารณาตํอไปวําการจําแนกโรงเรียนตามเพศนั้นมีเหตุผลอันสมควร
                   หรือไมํ ซึ่งกฎหมายไทยมิได๎กําหนดหลักเกณฑ์หรือแนวพิจารณาไว๎อยํางชัดแจ๎ง แตํอาจนําหลักเกณฑ์และ

                   ปัจจัยพิจารณาที่ศาลสหรัฐอเมริกาวางไว๎มาประกอบเป็นแนวทางพิจารณาได๎ กลําวคือ ศาลสหรัฐอเมริกา

                   พิจารณาวําการแบํงแยกรับนักเรียนตามเพศหรือโรงเรียนเฉพาะเพศ ภายใต๎กรอบของหลัก “เหตุผลชอบ
   435   436   437   438   439   440   441   442   443   444   445