Page 439 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 439
415
- ขยายโอกาสทางการศึกษาแกํบุคคลที่ไมํมีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไมํมีสัญชาติไทยซึ่งเดิมเคย
จํากัดไว๎ให๎บางกลุํม บางระดับการศึกษา เป็นเปิดกว๎างให๎ทุกคนที่อาศัยในประเทศสามารถเข๎าเรียนได๎โดยไมํ
จํากัดระดับ ประเภท หรือพื้นที่การศึกษา
- จัดสรรงบประมาณอุดหนุนเป็นคําใช๎จํายรายหัว ให๎แกํสถานศึกษาที่จัดการศึกษาแกํกลุํมบุคคลที่
ไมํมีหลักฐานทางทะเบียนราษฎร์หรือไมํมีสัญชาติไทย ตั้งแตํระดับกํอนประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายในอัตราเดียวกับคําใช๎จํายรายหัวที่จัดสรรให๎เด็กไทย
- ให๎กระทรวงมหาดไทยจัดทําฐานข๎อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่ไมํมีหลักฐานหรือไมํมีสัญชาติไทย เพื่อ
ประโยชน์ตํอการจําแนกสถานะ และการอนุญาตและอํานวยความสะดวกให๎แกํเด็กและเยาวชนที่มี
ข๎อกําหนดเฉพาะและระเบียบปฏิบัติหรือกฎหมายควบคุมเฉพาะให๎จํากัดพื้นที่อยูํอาศัยสามารถเดินทางไป
ศึกษาได๎เป็นระยะเวลาตามหลักสูตระดับนั้นๆ โดยไมํต๎องขออนุญาตเป็นครั้งคราว ยกเว๎นผู๎หนีภัยจากการสู๎
รบและบุคคลในความหํวงใย (Prisoner of conscience)
- ให๎กระทรวงศึกษาธิการจัดการศึกษาในรูปแบบที่เหมาะสมแกํเด็กและเยาวชนที่หนีภัยจากการสู๎
รบ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการอยูํรํวมกันอยํางสมานฉันท์
จากมติคณะรัฐมนตรีดังกลําวจะเห็นได๎วํา บุคคลที่ไมํมีหลักฐานทางทะเบียนราษฎร์หรือไมํมี
สัญชาติไทยทุกกลุํมที่อาศัยในประเทศไทย รวมทั้งผู๎ลี้ภัย เด็กกลุํมชาติพันธุ์ บุตรของแรงงานโยกย๎ายถิ่นฐาน
มีโอกาสได๎รับการศึกษาของไทยและมีสิทธิเข๎าเรียนฟรี 15 ปี รวมทั้งยังมีองค์กรเอกชนระหวํางประเทศที่จัด
397
การศึกษาตั้งแตํประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในพื้นที่พักพิง 9 แหํงอีกด๎วย อยํางไรก็ตามยังมี
นักวิชาการด๎านการศึกษาชี้ให๎เห็นถึงปัญหาความเข๎าใจมติคณะรัฐมนตรีดังกลําวในกรณีเด็กพิการที่มีความ
บกพรํองในการได๎ยิน ยังมิได๎รับสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคตามที่กฎหมายกําหนดไว๎อยํางเต็มที่ การ
นําบทบัญญัติกฎหมายไปบังคับใช๎ยังไมํเป็นรูปธรรม เนื่องจากกฎหมายบัญญัติไว๎อยํางกว๎างๆ เพื่อใช๎สําหรับ
398
คนพิการทุกประเภททั้งที่เด็กพิการแตํละประเภทมีความแตกตํางกันในการจัดการศึกษา แม๎วําความ
เสมอภาคในมิติการศึกษาจะยังมีปัญหาในทางปฏิบัติโดยเฉพาะการบังคับใช๎กฎหมายดังกลําว แตํโดย
หลักการแล๎ว หากพิจารณาในแงํเนื้อหาสาระของหลักกฎหมายที่เกี่ยวข๎องอาจกลําวได๎วํา นโยบายและ
กฎหมายที่เกี่ยวข๎องของไทยมีหลักการครอบคลุมเพื่อสํงเสริมความเสมอภาคทางการศึกษาแล๎ว
สําหรับประเด็นการเลือกปฏิบัติในมิติการศึกษาของไทยที่มีลักษณะการแบํงแยกบุคคลตามกลุํมที่
เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัตินั้น พบวํา มีกรณีการก าหนดเกณฑ์การรับนักเรียนโดยอาศัยเหตุด้าน
ถิ่นที่อยู่ ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวํา “..การกําหนดหลักเกณฑ์การรับนักเรียนสังกัด
397 จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร, รายงานฉบับสมบูรณ์ นโยบายการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนชายแดนไทย-พม่า : กรณีผู้อพยพ
จากภัยสงคราม (กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ, 2555).
398 ชนิตา รักษ์พลเมือง, สิทธิและเสรีภาพทางการศึกษา : พื้นฐานการศึกษาทางสังคมและกฎหมาย (กรุงเทพมหานคร:
วิญญูชน, 2557), หน๎า 89.