Page 438 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 438
414
จากการศึกษากฎหมายสหรัฐอเมริกาข๎างต๎นจะเห็นได๎วําหลักความเทําเทียมกัน (Equal
Protection Clause) ปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขครั้งที่ 14 (Fourteenth Amendment) ซึ่งเมื่อ
เปรียบเทียบกับกฎหมายไทยพบวํา รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยรับรองหลักความเทําเทียมกันและใน
392
มิติการศึกษานั้นก็มีการรับรองความเสมอภาคในการศึกษาเป็นการเฉพาะ นอกจากนี้ยังพบวํา ปัจจุบัน
ไทยมีกฎหมายเฉพาะหลายฉบับที่วางหลักรับรองความเทําเทียมกันและห๎ามเลือกปฏิบัติเชํน
394
393
พระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พระราชบัญญัติคุ๎มครองเด็ก พระราชบัญญัติความเทําเทียม
ระหวํางเพศ เป็นต๎น ในประเด็นความเสมอภาคและความเทําเทียมทางการศึกษานั้น ผลการวิจัยของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติชี้ให๎เห็นวํา โดยภาพรวมระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอน
ปลายสามารถจัดได๎เพียงพอ สํวนระดับมัธยมศึกษาตอนต๎นยังขาดเพียงเล็กน๎อย แตํเมื่อพิจารณาในแตํละ
เขตพื้นที่ปรากฏวําระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมํสามารถรับได๎ตามความต๎องการ
ของผู๎เรียน สําหรับประเด็นการจัดการศึกษาโดยไมํเก็บคําใช๎จํายนั้น ผลการวิจัยนี้ชี้ให๎เห็นวําผู๎บริหาร
สถานศึกษาร๎อยละ 78.9 เห็นวําคําใช๎จํายที่รัฐให๎การสนับสนุนไมํเพียงพอ ผู๎ปกครองต๎องเสียคําใช๎จํายเพิ่ม
395
ให๎กับสถานศึกษาถึงร๎อยละ 73.4
สําหรับประเด็นความเสมอภาคและความเทําเทียมกันในกรณีบุคคลที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการ
เลือกปฏิบัติบางประการ เชํน เชื้อชาติ สัญชาติ นั้น พบวํา ในปี พ.ศ. 2548 คณะรัฐมนตรีมีมติวันที่ 5
กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เรื่องการขยายโอกาสทางการศึกษาแกํบุคคลที่ไมํมีหลักฐานทางทะเบียนราษฎร์
หรือไมํมีสัญชาติไทย โดยเห็นชอบแนวปฏิบัติการจัดการศึกษาแกํบุคคลที่ไมํมีหลักฐานทะเบียนราษฎร์
396
หรือไมํมีสัญชาติไทย โดยเห็นชอบแนวปฏิบัติที่เสนอโดยกระทรวงศึกษาธิการ ได๎แกํ
392 เชํน รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 49 ซึ่งวางหลักวํา “บุคคลยํอมมีสิทธิเสมอกันในการรับ
การศึกษาไมํน๎อยกวําสิบสองปีที่รัฐจะต๎องจัดให๎อยํางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมํเก็บคําใช๎จําย”
393 มาตรา 10 วางหลักวํา การจัดการศึกษา ต๎องจัดให๎บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมํ
น๎อยกวําสิบสองปีที่รัฐต๎องจัดให๎อยํางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมํเก็บคําใช๎จําย
394
กฎกระทรวงกําหนดแนวทางการพิจารณาวําการกระทําใดเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือเป็นการเลือกปฏิบัติ
โดยไมํเป็นธรรมตํอเด็กพ.ศ. 2549 ข๎อ 2. อธิบายวํา “การปฏิบัติตํอเด็กไมํวํากรณีใดโดยไมํเทําเทียมกัน เพราะเหตุความ
แตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ
หรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็น
ธรรมต่อเด็ก”
395
คณะอนุกรรมการการศึกษาและการพัฒนา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ, รายงานการวิจัย การได้รับสิทธิใน
บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานจากรัฐ : ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 43
(กรุงเทพมหานคร : บริษัทรวยบุญการพิมพ์ จํากัด, 2549).
396 สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือและแนวปฏิบัติส าหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียน
ราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย (2555), Retrieved from http://rnedu.go.th/wp-
content/uploads/2015/10/kumoue-no-sunchat.pdf