Page 436 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 436

412


                           4.12.4 หลัก “ความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญและชอบธรรมระหว่างเป้าหมายและวิธีการ (Fair
                   and substantial relationship between means and ends)


                           จากสองคดีข๎างต๎นจะเห็นได๎วํา ศาลใช๎หลักความสัมพันธ์ระหวํางเปูาหมายกับวิธีการ ในการ
                   พิจารณาความชอบด๎วยกฎหมายของนโยบายรัฐเกี่ยวกับการแบํงแยกการให๎บริการแกํประชาชนด๎วยเหตุ

                   แหํงเพศ กลําวคือ นโยบายที่จําแนกบุคคลด๎วยเหตุแหํงเพศอาจไมํขัดตํอกฎหมาย หากกรณีนั้นรัฐสามารถ
                   แสดงให๎เห็นถึงความสัมพันธ์อยํางมีนัยสําคัญและชอบธรรมระหวํางเปูาหมายและวิธีการ ดังนั้น หากรัฐจัด
                   ให๎มีโรงเรียนเฉพาะสําหรับเด็กชาย โดยไมํให๎นักเรียนหญิงเข๎าเรียน ก็จะต๎องแสดงวําการจําแนกเชํนนี้
                   เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ใด และการจําแนกนั้นมีความเหมาะสมหรือไมํในฐานะวิธีการอันจะนําไปสูํ

                   วัตถุประสงค์นั้น สําหรับคดี Vorchheirner  v.  School  District  of  Philadelphia  ศาลเห็นถึง
                   ความสัมพันธ์ระหวํางวัตถุประสงค์และวิธีการ แตํคดี Mississippi University for Women v. Hogan ไมํมี
                   ความชัดเจนวําการให๎โอกาสเฉพาะหญิงในการเรียนวิชาชีพพยาบาลจะตอบสนองวัตถุประสงค์ที่ชอบธรรม
                   ของรัฐอยํางไร นอกจากนี้มีนักวิชาการเห็นวําศาลในคดีนี้ได๎นําปัจจัยที่จับต๎องไมํได๎ (Intangible factor) มา

                   ประกอบการพิจารณาด๎วย กลําวคือ การให๎โอกาสเฉพาะนักเรียนหญิงนั้นสะท๎อนแนวคิด ประเพณีดั้งเดิม
                                                     389
                   เกี่ยวกับบทบาทและหน๎าที่ของผู๎หญิงด๎วย  นอกจากนี้ แม๎รัฐจะอ๎างเหตุผลด๎านความแตกตํางทางกายภาพ
                   ระหวํางชายกับหญิงที่เกี่ยวกับการเลํนกีฬาเชํนในคดี Force v. Pierce City R-VI School District  แตํ
                   เหตุผลดังกลําวก็ยังไมํเพียงพอที่จะเชื่อมโยงไปถึงวัตถุประสงค์อันชอบธรรมของรัฐ สําหรับคดี Garrett v.

                   Board of Educ. of School D. of Detroit ศาลก็พิจารณาโดยหลักการนี้เชํนกัน จะเห็นได๎วํารัฐไมํอาจ
                   แสดงให๎เห็นความสัมพันธ์ระหวํางวิธีการและเปูาหมายของการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยมูลเหตุแหํงเพศ













                           4.12.5 การเลือกปฏิบัติในการให้บริการการศึกษาด้วยเหตุเชื้อชาติ ถิ่นก าเนิด


                           นโยบายของรัฐในการแบํงแยกการให๎การศึกษาตามเชื้อชาติ สีผิว (Segregation)  ได๎ถูกศาลใน
                   หลายคดีตัดสินวําเป็นการขัดตํอหลักความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้นรัฐบาลท๎องถิ่นหลายแหํงได๎
                   ปรับเปลี่ยนนโยบายการรับเข๎าศึกษาไปในทิศทางของการรับบุคคลโดยไมํจําแนกเชื้อชาติ สีผิว
                   (Integration)





                   389  Karen J Maschke, Gender and American Law : The Impact of the Law on the Lives of Women
                   (New York: Garland Publishing, Inc., 1997), p. 265.
   431   432   433   434   435   436   437   438   439   440   441