Page 437 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 437

413


                           อยํางไรก็ตาม ยังเกิดกรณีที่วําสถานศึกษาบางแหํงกําหนดนโยบายการรับเข๎าศึกษาโดยสํารองที่นั่ง
                   จํานวนหนึ่งให๎กับบุคคลบางเชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด จึงมีประเด็นวํา นโยบายดังกลําวเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ

                   ซึ่งหากพิจารณาโดยทั่วไปแล๎วจะเห็นวํา นโยบายดังกลําวสํงผลให๎เกิดการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางบุคคล
                   ที่ได๎รับสิทธิหรือโควตานั้น กับ บุคคลที่ไมํอยูํในกลุํมเชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด ที่มีสิทธิดังกลําว แตํหากพิจารณาถึง
                   วัตถุประสงค์ของนโยบายนี้จะพบวํา มิได๎เป็นไปเพื่อกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ แตํเป็นไปเพื่อชํวยกลุํมผู๎ที่มี
                   ความเสี่ยงหรือเคยถูกเลือกปฏิบัติให๎ได๎รับโอกาสที่เทําเทียมกันมากขึ้น ฝุายที่กําหนดนโยบายดังกลําวจึง

                   โต๎แย๎งวําเป็นการปฏิบัติที่ชอบธรรมและไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ

                           คดีสําคัญที่เกี่ยวกับการปฏิบัติที่แตกตํางกันในการรับบุคคลเข๎าศึกษาในสถาบันการศึกษาของรัฐ

                   ด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติกลําวคือกรณีเชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด แตํมีประเด็นเกี่ยวข๎องกับวัตถุประสงค์เพื่อ
                   ชํวยให๎เกิดความเทําเทียมกันดังกลําวนี้ จะเห็นได๎จากคดีสําคัญคือ Regents of University of California
                           390
                   v. Bakke  ซึ่งเป็นกรณีที่ โจทก์เป็นวิศวกรและอดีตทหารถูกปฏิเสธการรับเข๎าศึกษาในคณะแพทยศาสตร์
                   มหาวิทยาลัย University of California, Davis เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีนโยบายรับนักศึกษาด๎วยโควตาที่

                   กําหนดขึ้นจากมูลเหตุเชื้อชาติ (Racial Quota) กลําวคือจํากัดที่นั่งจํานวน 16 ที่นั่งจาก 100 ที่นั่งให๎บุคคล
                   บางเชื้อชาติ สีผิว ศาลสูงสุดของ  California  ตัดสินวํานโยบายดังกลําวเป็นการละเมิดสิทธิของคนผิวขาว
                   และขัดตํอหลักความเทําเทียมกัน ศาลสูงสุดสหรัฐอเมริกาตัดสินด๎วยเสียงข๎างมากวํากรณีนี้แม๎วําเป็นไปเพื่อ
                   วัตถุประสงค์ในการสร๎างความหลากหลายของเชื้อชาติให๎เกิดขึ้นในชั้นเรียนด๎วยการให๎โควตาชํวยเหลือกลุํม

                   เชื้อชาติบางกลุํม แตํมีลักษณะกว๎างเกินไปและขัดตํอหลักความเทําเทียมกัน

                                                                            391
                           อยํางไรก็ตาม ในปี 2003 ศาลในคดี Grutter v. Bollinger  ได๎ตัดสินวําเกณฑ์การรับนักศึกษา
                   โดยอาศัยปัจจัยด๎านเชื้อชาติ สีผิว นั้นไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญ ข๎อเท็จจริงในคดีนี้เป็นกรณีนักศึกษาผิวขาวผู๎มี
                   ผลการเรียน 3.8 ถูกปฏิเสธการรับเข๎าศึกษาตํอในมหาวิทยาลัยเนื่องจากนโยบายใช๎ปัจจัยด๎านเชื้อชาติเป็น
                   ปัจจัยหนึ่งสําหรับการพิจารณารับนักศึกษา นักศึกษาผู๎นี้จึงฟูองวําการใช๎ปัจจัยดังกลําวเป็นการฝุาฝืนหลัก

                   ความเทําเทียมกันที่กําหนดไว๎ในรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 14 ศาลสูงสุดสหรัฐเห็นวํา เกณฑ์การ
                   คัดเลือกของมหาวิทยาลัย Michigan  มีวัตถุประสงค์เกี่ยวข๎องกับผลประโยชน์สําคัญที่รัฐพึงปกปูอง
                   (Compelling state interest) กลําวคือวัตถุประสงค์ในการสร๎างชั้นเรียนที่ประกอบด๎วยความหลากหลาย
                   ของนักศึกษา ศาลตัดสินวํากระบวนการรับนักศึกษาที่มีเกณฑ์ด๎านเชื้อชาตินั้นอาจถือวําเป็นการปฏิบัติใน
                   ลักษณะพิเศษแกํชนกลุํมน๎อยที่ด๎อยโอกาส (Underrepresented minority group) แตํมีการนําปัจจัยอื่นๆ

                   เข๎ามาประกอบการพิจารณาสําหรับผู๎สมัครแตํละรายด๎วย ซึ่งแตกตํางกับระบบโควตาซึ่งศาลเคยตัดสินวําขัด
                   ตํอรัฐธรรมนูญ





                           4.12.6 ความเสมอภาคและการเลือกปฏิบัติในมิติการศึกษาตามกฎหมายไทย


                   390  Regents of the University of California v. Bakke, 438 U.S. 265 (1978)
                   391
                      Grutter v. Bollinger, 539 U.S. 306 (2003)
   432   433   434   435   436   437   438   439   440   441   442