Page 434 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 434

410


                           กฎหมายหรือนโยบายเกี่ยวกับการให๎บริการด๎านการศึกษาที่มีลักษณะแบํงแยกนักเรียนด๎วยมูลเหตุ
                   ทางเพศ ปรากฏในกรณีของการจัดการศึกษาในลักษณะโรงเรียนที่รับเฉพาะนักเรียนเพศใดเพศหนึ่ง

                   (Gender Segregated School) จึงมีประเด็นวํา การจําแนกความแตกตํางเชํนนี้เป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ

                           ในสหรัฐอเมริกามีหลายกรณีที่รัฐบาลท๎องถิ่นมีกฎหมายหรือนโยบายในการจัดการศึกษาภาครัฐ

                   โดยแบํงแยกโรงเรียนตามเพศ ซึ่งอาจมีสํวนเกี่ยวพันกับมูลเหตุด๎านเชื้อชาติ สีผิวด๎วย โดยเฉพาะการตั้ง
                   โรงเรียนชายล๎วนสําหรับเด็กนักเรียนผิวสี


                           ในระยะแรกศาลสหรัฐอเมริกาตัดสินวํานโยบายในลักษณะดังกลําวสามารถทําได๎โดยไมํขัดตํอ
                                                                                 382
                   กฎหมาย เชํน คดี Vorchheirner v. School District of Philadelphia  ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากนักเรียน
                   หญิงประสงค์เข๎าเรียนในโรงเรียนชายล๎วน (All men high school) และถูกปฏิเสธจึงอ๎างวําถูกละเมิดสิทธิ
                   ตามรัฐธรรมนูญ ถึงแม๎โรงเรียนในลักษณะที่นักเรียนหญิงผู๎นี้ประสงค์จะเข๎าเรียนนั้นจะมีสองแหํง กลําวคือ

                   แหํงหนึ่งสําหรับชายล๎วนและอีกแหํงสําหรับหญิงล๎วนก็ตาม นักเรียนหญิงผู๎นี้ก็อ๎างวําชื่อเสียงของโรงเรียน
                   ชายล๎วนแหํงนั้นดีกวํา ศาลชั้นต๎นมีคําสั่งให๎รับนักเรียนหญิงเข๎าเรียนโรงเรียนชายล๎วนนั้น โดยให๎เหตุผลวํา
                   การกีดกันด๎วยมูลเหตุแหํงเพศในกรณีนี้ไมํมีเหตุผลเกี่ยวกับผลประโยชน์อันชอบธรรมของรัฐ ศาลวางหลักวํา
                   การปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันนั้น อาจทําได๎ตํอเมื่อแสดงให๎เห็นถึง “ความสัมพันธ์อยํางมีนัยสําคัญและ

                   ชอบธรรมระหวํางเปูาหมายและวิธีการ (Fair and Substantial Relationship between Means and
                   Ends) สําหรับในกรณีนี้ ศาลเห็นวํา ยังไมํมีความสัมพันธ์ดังกลําวระหวํางวิธีการ (การแบํงแยกโรงเรียนชาย
                   และหญิงล๎วน) กับ เปูาหมายอันเกี่ยวเนื่องกับผลประโยชน์ที่ชอบธรรมของรัฐ










                           อยํางไรก็ตาม ศาลอุทธรณ์กลับคําพิพากษาชั้นต๎น โดยให๎เหตุผลวํา นโยบายการศึกษาที่จําแนก

                   นักเรียนตามเพศนั้นมีเหตุผลชอบด้วยกฎหมาย (Legitimate  Educational  Policy)  และเป็นไปในฐานะ
                   วิธีการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ชอบธรรมของรัฐซึ่งในที่นี้คือการส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมี
                   ประสิทธิภาพ เนื่องจากในขณะนั้นมีทฤษฎีทางการศึกษาวําวัยรุํนจะเรียนได๎อยํางมีประสิทธิภาพเมื่อจัดการ
                                                                                    383
                   เรียนแบบแยกเพศ ดังนั้น การแบํงแยกโรงเรียนดังกลําวจึงไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญ








                   382  Vorchheirner v. School District of Philadelphia 430 U.S. 703 (1977)
                   383  Karen J Maschke, Gender and American Law : The Impact of the Law on the Lives of Women
                   (New York: Garland Publishing, Inc., 1997), pp. 261-263.
   429   430   431   432   433   434   435   436   437   438   439