Page 431 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 431

407


                                                                                378
                           คดี Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education  หลังจากคดี Brown สํงผลให๎
                   รัฐบาลท๎องถิ่นตํางๆ ปรับเปลี่ยนนโยบายในการรับนักเรียนโดยไมํจําแนกโรงเรียนสําหรับเด็กผิวขาวและผิว

                   สี กรณีนี้เมือง Charlotte  ในมลรัฐ North Carolina ได๎ปรับนโยบายรับเด็กเข๎าเรียนตามพื้นที่ อยํางไรก็
                   ตามปรากฏวําเขตการศึกษาของเมืองนี้ประกอบด๎วยพื้นที่ประมาณ 550 ตารางไมล์ โดยนักเรียนผิวสี
                   สํวนมากจะอยูํอาศัยบริเวณใจกลางเมือง และเข๎าเรียนในโรงเรียนบางแหํงบริเวณนั้น ในขณะที่นักเรียนผิว
                   ขาวสํวนใหญํซึ่งอยูํหํางออกไป ทําให๎ยังคงเกิดสภาพการแบํงแยกโรงเรียนสําหรับเด็กผิวสีและเด็กผิวขาว จึง

                   มีการกําหนดนโยบายรถนักเรียนเพื่อรับนักเรียนผิวสีไปเรียนที่โรงเรียนซึ่งมีเด็กผิวขาวสํวนมากเรียนอยูํ
                   โจทก์ฟูองวํานโยบายรถนักเรียนดังกลําวเป็นการจําแนกความแตกตํางและไมํเทําเทียมกัน ศาลตัดสินวํา
                   นโยบายนี้เป็นการแก๎ปัญหาความไมํสมดุลทางเชื้อชาติ (Racial Imbalance) แม๎วําความไมํสมดุลดังกลําว
                   เกิดจากการกําหนดให๎นักเรียนเข๎าเรียนตามพื้นที่ (Neighborhood Policy) แตํก็ไมํได๎เกิดจากมูลเหตุจูงใจ

                   ในการแบํงแยกสีผิว ดังนั้นนโยบายนี้จึงมีความเหมาะสมเพื่อให๎นักเรียนมีโอกาสเรียนเทําเทียมกัน

                           จากประเด็นกรณีศึกษาที่นํามาวิเคราะห์นี้ชี้ให๎เห็นถึงบริการภาครัฐที่อาจมีลักษณะปฏิบัติตํอบุคคล

                   แตกตํางกันได๎ หากเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมาย และมุํงสูํความเทําเทียมกันในเชิงสาระ
                   (Substantive Equality) แตํหากการปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นมีลักษณะเป็นการทําให๎เกิดความแตกตํางกัน
                   ระหวํางบุคคลด๎วยเหตุเชื้อชาติ สีผิว ก็จะเป็นการไมํสอดคล๎องกับหลักความเทําเทียมกัน นอกจากนี้ยังอาจ
                   พิจารณาได๎วํานโยบายบางอยํางของรัฐที่มีลักษณะสํงเสริมหรือให๎สิทธิแกํบุคคลบางกลุํม หากเป็นไปเพื่อ

                   สร๎างความเทําเทียมกันแล๎วก็เป็นการชอบด๎วยกฎหมาย ซึ่งมีลักษณะเป็น “มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก”
                   ดังที่ได๎วิเคราะห์มาแล๎วนั่นเอง










                           4.12.2 หลักความเท่าเทียมด้านเชื้อชาติ (Racial equality doctrine)  และ ปัจจัยที่จับต้อง
                   ไม่ได้ (Intangible factor)


                           นับจากคดี Plessey  v.  Ferguson  ในปี 1896 ศาลก็มีแนวโน๎มทบทวนแนวคําพิพากษาใหมํโดย
                   มุํงเน๎นความเทําเทียมกัน ในการนี้ศาลได๎สร๎างหลักความเทําเทียมด๎านเชื้อชาติ (Racial  equality
                   doctrine)  ในบริบทการให๎บริการด๎านการศึกษาขึ้น เพื่อแก๎ปัญหาการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุเชื้อชาติ สีผิว

                   กลําวคือ ศาลวางหลักวํา นโยบายหรือกฎหมายตามแนวคิด “การแบํงแยกแตํเทําเทียมกัน”  (Separate
                   but  equal)  นั้น หากสํงผลให๎กลุํมคนกลุํมหนึ่งถูกปฏิเสธด๎วยปัจจัยที่จับต๎องไมํได๎ (Intangible  Factor)






                   378
                      Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education 402 U.S. 1 (1971)
   426   427   428   429   430   431   432   433   434   435   436