Page 429 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 429

405


                                                                                        370
                   สําหรับเด็กผิวสีและผิวขาว ในปี ค.ศ. 1896 ศาลในคดี Plessey  v.  Ferguson   วางหลักวํา การที่
                   กฎหมายมลรัฐกําหนดการแบํงแยกโรงเรียนของรัฐตามสีผิว (Racial Segregation Law) นั้นไมํขัดตํอหลัก

                   ความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ หากคนผิวขาวและผิวสีตํางก็สามารถเข๎าถึงการศึกษาได๎เชํนเดียวกัน
                   หรือเรียกวํา “การแบํงแยกแตํเทําเทียมกัน” (Separate but Equal) ซึ่งกลายเป็นหลักกฎหมายที่สําคัญใน
                                                                                                      371
                   สหรัฐจนกระทั่งปี 1954 เมื่อศาลสูงสุดตัดสินในคดี Brown v. Board of Education of Topeka  ได๎
                   ตัดสินในประเด็นเชํนเดียวกันนี้อีกครั้ง


                           ในคดีนี้คณะกรรมการการศึกษา (Board of Education of Topeka) แบํงแยกโรงเรียนตามผิวสี
                   ของนักเรียน ซึ่งกฎหมายอนุญาตให๎ทําเชํนนั้นได๎ ผู๎ปกครองนักเรียนผิวสีต๎องการให๎บุตรเข๎าโรงเรียนคนผิว

                   ขาวด๎วยสาเหตุที่อยูํใกล๎บ๎านมากกวําที่จะต๎องเดินทางไกลออกไปเพื่อเรียนในโรงเรียนสําหรับเด็กผิวสี ศาล
                   ชั้นต๎นตัดสินตามหลัก “การแบํงแยกแตํเทําเทียมกัน” (Separate but Equal) เนื่องจากแม๎มีการแบํงแยก
                   โรงเรียนแตํเด็กผิวสีก็ยังสามารถเข๎าถึงการศึกษาได๎ แตํศาลสูงสุดกลับหลักคดีข๎างต๎นโดยตัดสินวํา การ
                   แบํงแยกโรงเรียนตามสีผิวของนักเรียนเป็นการขัดตํอหลักความเทําเทียมกัน (Equal Protection Clause)

                   ตามรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขครั้งที่ 14 ศาลให๎เหตุผลวํา การแบํงแยกโรงเรียนนั้นโดยเนื้อแท๎แล๎วเป็นความไมํ
                   เทําเทียมกัน (Inherently Unequal) ทั้งนี้แม๎วําจะมีการจัดโรงเรียนสําหรับเด็กทั้งสองกลุํมแล๎วแตํเป็นการ
                   ตัดสิทธิ์ของเด็กผิวสีที่จะได๎รับการศึกษาอยํางเทําเทียมกันในการเข๎ารับการศึกษาระบบผสมผสาน
                   (Integrated School System) การแบํงแยกโดยกฎหมาย ยังสํงผลสะท๎อนถึงการปฏิบัติที่ด๎อยกวําตํอเด็ก

                   ผิวสี

                                                             372
                           ในปีเดียวกันมีคดี  Bolling  v.  Sharpe  ซึ่งศาลสูงสุดสหรัฐตัดสินในแนวทางเชํนเดียวกับคดี
                   Brown กลําวคือ การแบํงแยก (Segregation) โรงเรียนสําหรับเด็กผิวสีและผิวขาวนั้นเป็นการไมํชอบเพราะ
                                                 373
                   ขัดตํอรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขครั้งที่ 5

                           แม๎วําคดี Brown  จะสํงผลเป็นการสนับสนุนแนวคิดของฝุายเรียกร๎องสิทธิพลเมือง (Civil  Right)
                   แตํคําพิพากษาก็มิได๎ระบุชัดถึงวิธีการ (Method)  ในการขจัดเสียซึ่งการจําแนกความแตกตํางในโรงเรียน
                   (Desegregation)  นอกจากนี้ในทางกฎหมายแล๎วปรากฏวํายังมีกฎหมายมลรัฐและกฎหมายท๎องถิ่นที่มี

                   หลักการแบํงแยกสีผิวหรือเชื้อชาติอยูํ ดังนั้นในปี 1954 โจทก์ในคดีกํอนจึงมีการนําคดีมาสูํศาลสูงสุดอีกครั้ง
                                        374
                   (เรียกวําคดี “Brown II” ) ซึ่งศาลตัดสินวําการขจัดการจําแนกความแตกตําง (Desegregation) จะต๎อง



                   370  Plessy v. Ferguson, 163 U.S. 537 (1896)
                   371  Brown v. Board of Education of Topeka, 347 U.S. 483 (1954)
                   372
                      Bolling v. Sharpe, 347 U.S. 497 (1954)
                   373
                      ซึ่งวางหลักกระบวนการที่ชอบด๎วยกฎหมาย (Due process clause) ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขครั้งที่ 5 มิได๎
                   มีหลักความเทําเทียมกัน (Equal protection) ดังเชํนรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขครั้งที่ 14 และในคดีนี้มีความแตกตํางจากคดี
                   Brown  เนื่องจากไมํอาจปรับใช๎รัฐธรรมนุญฉบับแก๎ไขครั้งที่ 14 กับกรณีได๎เนื่องจากจะต๎องเป็นการอ๎างยันตํอรัฐ (State)
                   แตํกรณีนี้เป็นเขต District of Columbia
                   374
                      Brown v. Board of Education of Topeka, 349 U.S. 294 (1955)
   424   425   426   427   428   429   430   431   432   433   434