Page 426 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 426

402


                   นั้น สืบเนื่องจากเหตุแหํงความเป็นผู๎หญิงและเหตุที่หญิงนั้นตั้งครรภ์ จึงเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง
                                             369
                   เพศ (Sexual discrimination)


                           กฎหมายสิทธิมนุษยชนของแคนาดา รวมถึงแนวปฏิบัติในระดับมลรัฐ ทั้งกรณีของ British

                   Columbia  และ Ontario  แสดงให๎เห็นหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติหญิงผู๎ให๎นมบุตร โดยการให๎นมบุตรในที่
                   สาธารณะ แสดงให๎เห็นถึงมิติของการเลือกปฏิบัติด๎านตํางๆ ทั้งการจ๎างแรงงาน การให๎บริการสิ่งอํานวย

                   ความสะดวกสาธารณะ


                           สําหรับในกรณีของการจ๎างแรงงาน นั้นพฤติกรรมการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับการให๎นมบุตรจะ

                   เกี่ยวข๎องกับการกระทํา เชํน การห๎ามให๎นมบุตรในสถานที่ทํางาน การจัดให๎ลูกจ๎างหญิงผู๎ประสงค์ให๎นมบุตร
                   แยกตัวออกไปให๎นมบุตรในสถานที่ไมํเหมาะสมหรือไมํถูกสุขอนามัย เชํน ในห๎องน้ํา รวมทั้งกฎระเบียบ

                   เกี่ยวกับการทํางานที่เป็นอุปสรรคหรือไมํสะดวกสําหรับการให๎นมบุตร เชํน เวลาพัก เวลาทํางาน ที่ไมํ
                   ยืดหยุํนสําหรับลูกจ๎างหญิงผู๎ให๎นมบุตร



                           เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายไทย อาจจําแนกเป็นประเด็นตํางๆได๎ดังนี้


                           - เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายสหรัฐอเมริกาแล๎วพบวํา ไทยไมํมีกฎหมายอนุญาตให๎ผู๎หญิงให๎นม

                   บุตรจากอกในที่สาธารณะได๎ รวมทั้งไมํมีการกําหนดยกเว๎นการให๎นมบุตรจากอกจากการเป็นพฤติกรรมที่ไมํ
                   เหมาะสมโดยเฉพาะลามกอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญาซึ่งยังไมํมีแนวคําวินิจฉัยของศาลวําการให๎นม
                   บุตรจากอกแมํในที่สาธารณะจะถือเป็นการกระทําอนาจารหรือไมํ


                           - ในบริบทของการจ๎างแรงงานนั้น กรณีการเลือกปฏิบัติในขั้นตอนการสัมภาษณ์งาน ตามกฎหมาย
                   ไทย การจ๎างแรงงาน ไมํครอบคลุมถึง ชํวงกํอนสถานะความเป็นนายจ๎าง ลูกจ๎าง เชํน การสัมภาษณ์งาน

                   การตัดสินใจจ๎างหรือไมํจ๎างงาน ด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน ไมํจ๎างงานเพราะตั้งครรภ์ สําหรับกรณี

                   การถามคําถามเรื่องสํวนตัวซึ่งเป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายคุ๎มครอง เชํน การถามคําถามถึง การ
                   วางแผนครอบครัวและการมีบุตรในอนาคต นั้น ในกรณีของไทยยังไมํมีหลักการคุ๎มครองเกี่ยวกับการถาม

                   คําถามดังกลําว หากเปรียบเทียบกับกรณีของแคนาดา ในระดับมลรัฐเชํน Ontario นั้น คณะกรรมการสิทธิ
                   มนุษยชนได๎มีการออกแนวปฏิบัติเพื่อให๎นายจ๎างดําเนินการหลีกเลี่ยงการเลือกปฏิบัติ เชํน ระหวํางการ

                   สัมภาษณ์งาน ผู๎สัมภาษณ์ไมํควรถามถึงการตั้งครรภ์ของผู๎สมัคร รวมทั้งคําถามเกี่ยวกับครอบครัว แผนการ

                   มีครอบครัว ไมํควรปฏิเสธการรับเข๎าทํางานด๎วยเหตุที่ผู๎สมัครตั้งครรภ์หรือวางแผนตั้งครรภ์


                   369  British Columbia Human Right Commission Policy and Procedural Manual,
                   http://www.infactcanada.ca/br_bc_humanrights.htm
   421   422   423   424   425   426   427   428   429   430   431