Page 404 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 404

380


                   หนึ่ง เชํน บุคคลผู๎เคยกระทําผิดฐานขํมขืนกระทําชําเรา ทําร๎ายรํางกาย หากสมัครงานในตําแหนํงที่มีโอกาส

                   เกี่ยวข๎องกับการขํมขืนกระทําชําเราหรืออยูํในสภาพงานที่มีความเสี่ยงตํอการเกิดกรณีพิพาทกับบุคคลอื่น
                   ในอีกแงํหนึ่ง แนวคิดดังกลําวมีลักษณะสร๎างภาพเหมารวม (Stereotype)  วําบุคคลที่มีเจตนาทําผิดอาญา

                   จะต๎องเป็นบุคคลที่ขาดคุณสมบัติอันเหมาะสมในการทํางาน โดยเฉพาะงานราชการจะเห็นวํามีการกําหนด

                   คุณสมบัติดังกลําวไว๎เกือบทุกลักษณะงาน โดยไมํคํานึงความแตกตํางของลักษณะเฉพาะในแตํละตําแหนํง
                   งาน นอกจากนี้ยังมีประเด็นวํา หลักการพิจารณาในเชิงเหมารวมเชํนนี้อาจสะท๎อนคุณลักษณะที่ไมํ

                   เหมาะสมของผู๎สมัครงานได๎หากพิจารณาความผิดอาญาเฉพาะตามประมวลกฎหมายอาญา


                            อยํางไรก็ตามในปัจจุบันมีความผิดตามกฎหมายเฉพาะอื่นที่บัญญัติขึ้นใหมํจํานวนมากซึ่งมีโทษ
                   อาญาอันมิใชํความผิดที่กระทําโดยประมาทหรือลหุโทษ โดยผู๎ที่ได๎รับโทษตามกฎหมายเหลํานั้นอาจไมํ

                   สะท๎อนถึง“คุณสมบัติอันเป็นสาระสําคัญของงาน” แตํอยํางใด ดังเชํน จากข๎อมูลในการจัดประชุมกลุํมยํอย
                   และสัมภาษณ์ มีผู๎ให๎ข๎อมูลวํา “…สังคมยังคงมีแนวคิดวํา คนมีประวัติอาชญากรรมเป็นคนไมํดี แตํใน

                   ปัจจุบัน ประวัติอาชญากรรมอาจเกิดกับคนที่ไมํได๎มีความชั่วร๎ายเหมือนอยํางพวกอาชญากร เชํน ผู๎กระทํา

                   ความผิดตาม พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ ซึ่งทําแคํโพสต์ข๎อมูลดํากันหรือแชร์ข๎อมูลที่หมิ่นประมาทคนอื่น ก็มี
                   ความผิดติดคุกได๎แล๎ว เพียงแคํนี้ก็กลายเป็นคนมีประวัติติดตัวเสียอนาคตไปหมด ...”  จากข๎อมูลนี้เมื่อ

                   พิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข๎องพบวํา ในปัจจุบันมีกฎหมายบางฉบับที่กําหนดความผิดอาญาอันมิใชํความผิดที่

                   กระทําโดยประมาทหรือลหุโทษ แตํก็มิได๎มีลักษณะเป็นความผิดร๎ายแรงอันอาจเกี่ยวข๎องกับ “คุณสมบัติอัน
                   เป็นสาระสําคัญของงาน”  โดยเฉพาะอยํางยิ่ง พระราชบัญญัติวําด๎วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

                   คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งมีฐานความผิดเกี่ยวกับการเผยแพรํเนื้อหาข๎อมูล โดยมีองค์ประกอบที่กว๎าง ซึ่ง
                   เมื่อพิจารณาพฤติกรรมของบุคคลในยุคปัจจุบันที่ใช๎อุปกรณ์สื่อสารข๎อมูลคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจําวันกัน

                                                       326
                   ทั่วไปแล๎ว มีโอกาสเป็นผู๎กระทําความผิด  ซึ่งมีโทษจําคุกสูงสุดห๎าปี อันไมํใชํความผิดที่กระทําโดย
                   ประมาทหรือลหุโทษ ทําให๎บุคคลทั่วไปอาจมีประวัติความผิดอาญาได๎โดยงําย  หากพิจารณาระเบียบ

                   สํานักงานตํารวจแหํงชาติวําด๎วยประมวลระเบียบการตํารวจไมํเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 32 การพิมพ์

                   ลายนิ้วมือ พ.ศ.2554 จะเห็นได๎วํา ผู๎ต๎องหาคดีเกี่ยวกับความผิดทางคอมพิวเตอร์จะต๎องถูกเก็บข๎อมูลลาย
                   พิมพ์นิ้วมือ ซึ่งข๎อมูลนี้จะยังคงอยูํเพื่อการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมตํอไปในกรณีของการจ๎างแรงงาน

                   ทั้งภาครัฐและเอกชน แม๎วําจะถูกศาลพิพากษาให๎จําคุกแตํรอลงอาญาไว๎ ประวัติดังกลําวก็ยังคงปรากฏอยูํ

                   อยํางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความผิดของบุคคลเหลํานี้ อาจเป็นกรณีการเผยแพรํหรือสํงตํอข๎อมูลขําวสารที่
                   “เป็นเท็จ”  ทางระบบคอมพิวเตอร์และเข๎าองค์ประกอบความผิดได๎ จะเห็นได๎วํา โดยทั่วไปคล๎ายคลึงกับ



                   326  มาตรา 14 พระราชบัญญัติวําด๎วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ; รายการมติทอล์ค ตอน (แคํ)
                   กดไลค์เข๎าขํายผิดกฎหมาย!?, สัมภาษณ์ คณาธิป ทองรวีวงศ์, คณะบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น, 11
                   ธันวาคม 2558.
   399   400   401   402   403   404   405   406   407   408   409