Page 405 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 405

381


                   ความผิดฐานหมิ่นประมาท ซึ่งเมื่อพิจารณาคุณสมบัติของงานทั่วไปแล๎ว การที่บุคคลเคยกระทําความผิด
                                                                  327
                   เชํนนี้อาจไมํใชํ “คุณสมบัติอันเป็นสาระสําคัญของงาน”   สําหรับงานทุกตําแหนํง ดังนั้น การกฎหมาย
                   หรือระเบียบที่กําหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับโทษจําคุกจึงทําให๎บุคคลที่ได๎รับโทษตามกฎหมายนี้ถูกตัดโอกาส

                   การทํางานไปด๎วย


                           หากเปรียบเทียบกับกฎหมายออสเตรเลีย จะเห็นได๎วํา กฎหมายกําหนดไว๎ชัดเจนถึงหลัก

                   “คุณสมบัติอันจําเป็นและเกี่ยวข๎องกับงาน”  นอกจากนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียยังได๎
                   พิจารณาในรายละเอียดของความผิดอาญาที่มีประวัติและความเกี่ยวข๎องกับงานแตํละงานเป็นกรณีไป เชํน

                   กรณีผู๎ร๎องสมัครงานในตําแหนํงผู๎ชํวยในบาร์ แตํถูกปฏิเสธด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมที่เคยลักทรัพย์เมื่อ
                                328
                   ครั้งเป็นผู๎เยาว์  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียเห็นวํา ผู๎ร๎องถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติ
                   อาชญากรรม ไมํเข๎าข๎อยกเว๎น “คุณสมบัติอันจําเป็นและเป็นสาระสําคัญของงานนั้น” หรือกรณี ผู๎ร๎องสมัคร
                   งานในตําแหนํงพนักงานสื่อสาร (Communication Offer) ของศูนย์บริการโทรศัพท์ฉุกเฉิน (Emergency

                   Service Telecommunications หรือ ESTA) แตํไมํได๎รับการคัดเลือกด๎วยเหตุที่เคยมีประวัติอาชญากรรม

                   ความผิดฐานดื่มแอลกอฮอล์และขับรถ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียเห็นวํา “เป็นการกําหนด
                   คุณสมบัติของงานที่ไมํเหมาะสมและไมํได๎สัดสํวน จึงไมํเข๎าข๎อยกเว๎น เนื่องจากไมํใชํคุณสมบัติอันจําเป็นที่

                                     329
                   เกี่ยวกับงานที่สมัคร”  เชํนเดียวกับกรณีที่ ผู๎ร๎องเคยมีประวัติอาชญากรรมข๎อหาขับรถขณะมึนเมา ได๎มา
                   สมัครงานในตําแหนํงนักวิเคราะห์ตลาด (Market Analyst) แตํไมํได๎รับการคัดเลือก บริษัทยอมรับวําเหตุที่
                   ไมํรับผู๎ร๎องเข๎าทํางานนั้นสืบเนื่องจากประวัติอาชญากรรม แตํอ๎างนโยบายของกิจการเกี่ยวกับยาเสพติดและ

                   เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งกําหนดไว๎เพื่อมุํงเน๎นความปลอดภัยในการทํางาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน












                   327
                      สําหรับรํางแก๎ไขพระราชบัญญัติการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.... ที่มีการนําเข๎าสูํการพิจารณาของสภา
                   นิติบัญญัติแหงชาติในเดือนเมษายน 2559 นั้นก็ยังคงมีองค์ประกอบที่กว๎างอันอาจทําให๎บุคคลทั่วไปสามารถตกเป็น
                   ผู๎กระทําผิดโดยงํายอยูํนั่นเอง สําหรับงานวิจัยนี้ไมํมีขอบเขตในการศึกษาและนําเสนอข๎อเสนอแนะเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ
                   นี้ แตํศึกษา “ผลกระทบตํอเนื่อง” ตํอสิทธิเสรีภาพของประชาชนผู๎ต๎องรับโทษจากพระราชบัญญัติดังกลําว โดยกลายเป็นผู๎
                   มีประวัติความผิดอาญาและสํงผลตํอไปในการถูกเลือกปฏิบัติในมิติของการจ๎างแรงงาน ; ประเด็นปัญหาของรําง พ.ร.บ นี้
                   กับสิทธิเสรีภาพของประชาชน ดูเพิ่มเติมได๎ใน : คณาธิป ทองรวีวงศ์ (สัมภาษณ์), ชําแหละ พ.ร.บ.คอมฯ ใหมํ ยังคงนํากลัว
                   เหมือนเดิม”, มติชน ปีที่ 36 ฉบับที่ 1864 , 6 พฤษภาคม 2559 น.13
                   328  Ms Renai Christensen v. Adelaide Casino Pty Ltd, HREOC Report No. 20
                   329  Report of an Inquiry into a complaint by Ms Tracy Gordon of discrimination in employment on the
                   basis of criminal record,  HREOC Report No. 33, 2006
   400   401   402   403   404   405   406   407   408   409   410