Page 401 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 401

377


                            ตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา ศาลเรียกหลักการนี้วํา “คุณสมบัติอันเกี่ยวข้องกับงานนั้นโดยสุจริต”
                   (Bona Fide Occupational Qualification) แนวทางการบังคับใช๎กฎหมาย (Enforcement Guidance)

                   ของ EEOC  วางหลักการพิจารณาความเกี่ยวข๎องกับงานและสอดคล๎องกับความจําเป็นทางธุรกิจ (Job
                   related and consistent with business necessity) เมื่อเปรียบเทียบกับแคนาดา พบวํา กฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชนของมลรัฐ British Columbia Quebec Newfoundland and Labrador ใช๎คําวํา “ความผิด
                   ทางอาญาซึ่งไมํเกี่ยวข๎องกับการจ๎างแรงงาน”  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน Manitoba  วางแนวทาง

                   พิจารณาวํา การถูกตัดสินโทษ (Conviction) นั้นมีความสัมพันธ์โดยสุจริตกับอาชีพหรือการจ๎างแรงงานนั้น
                   หรือไมํ (Bona Fide Relationship to the occupation or employment) โดยกําหนดเกณฑ์หรือปัจจัย
                   พิจารณา เชํน หากอุปนิสัยซึ่งเกี่ยวข๎องกับการถูกตัดสินโทษนั้นเกิดขึ้นซ้ําอีก อาจสํงผลกระทบตํอ
                   ความสามารถของนายจ๎างในการประกอบการอยํางปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (Employer‖s ability to

                   carry on its  business safely  and efficiently)  สถานการณ์แวดล๎อมของความผิดนั้น เชํน อายุขณะ
                   กระทําผิด ระยะเวลาของการตัดสินโทษกับการตัดสินใจที่เกี่ยวกับการจ๎างแรงงาน สําหรับกฎหมาย
                   ออสเตรเลียนั้นพบวํา โดยหลักของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระดับรัฐบาลกลางแล๎ว แม๎มีข๎อยกเว๎นให๎กิจการ
                   สามารถนําคุณสมบัติเกี่ยวกับ “ประวัติอาชญากรรม” มาใช๎ในบริบทการจ๎างแรงงานได๎ แตํก็ต๎องอยูํภายใต๎

                   เงื่อนไข คุณสมบัติอันเป็นสาระส าคัญของงาน” (Inherent Requirement Exception) ซึ่งจากการตีความ
                   ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียนั้นพบวํามีการตีความข๎อยกเว๎นดังกลําวอยํางจํากัด และ
                   พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความผิดอาญาตามประวัติของผู้สมัครงานหรือลูกจ้างกับสภาพงานนั้นๆเป็น

                   กรณีไป โดยหลีกเลี่ยงการสร๎างภาพเหมารวม (Stereotype) วําความผิดอาญาทุกอยํางเป็นคุณสมบัติ “ไมํ
                   เหมาะสมกับงานทุกประเภท”  สําหรับกฎหมายระดับมลรัฐเชํน Northern  Territory  (Anti-
                   Discrimination Act 1992) และ Tasmanian (Anti-Discrimination Act 1998) มีการวางหลักห๎ามเลือก
                   ปฏิบัติตํอบุคคลด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมที่ “ไมํเกี่ยวข๎อง” (Irrelevant criminal record) จะเห็นได๎วํา
                   กฎหมายออสเตรเลียมีการนําหลักการพิจารณาความเกี่ยวข๎องระหวํางประวัติอาชญากรรมนั้นกับงาน

                   ประเภทนั้นๆ เป็นกรณีไป

                           หลัก “คุณสมบัติอันเป็นสาระส าคัญของงาน”  นั้น กฎหมายของหลายประเทศได๎นําไปใช๎ในการ

                   พิจารณาคุณสมบัติอื่นที่เกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” เชํน เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ด๎วย
                   นอกจากนี้หากเปรียบเทียบกับกฎหมายในระดับของสหภาพยุโรป ก็พบวํามีการนําหลักนี้มาใช๎เชํนกัน
                   กลําวคือ การกําหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับการจ๎างงานที่มีผลเป็นการจํากัดสิทธิสําหรับคนบางกลุํมที่มีความ

                   เกี่ยวโยงกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ความพิการ โดยหลักแล๎วเป็นการเลือก
                   ปฏิบัติอันขัดตํอกฎหมายสหภาพยุโรป (กฎหมายเกี่ยวกับการวางกรอบสําหรับการปฏิบัติอยํางเทําเทียมกัน
                                                      321
                   ในการจ๎างแรงงานและการประกอบอาชีพ ) แตํกฎหมายนี้ยกเว๎นสําหรับกรณีที่ เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ
                   ดังกลําวเป็นคุณสมบัติอันจ าเป็นอย่างแท้จริงต่อการท างานหรืออาชีพนั้น (Genuine  Occupational





                   321  Council Directive 2000/78/EC establishing a general framework for equal treatment in employment
                   and occupation
   396   397   398   399   400   401   402   403   404   405   406