Page 408 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 408
384
พิจารณาไว๎วําเป็นการสรุปรวมที่กว๎างและทําให๎เกิดการสร๎างภาพเหมารวมประวัติอาชญากรรมโดยไมํ
คํานึงถึงความเกี่ยวข๎องกับลักษณะงานนั้น
ด๎วยเหตุนี้ เพื่อเป็นการคุ๎มครองผู๎ที่ได๎รับการปฏิบัติแตกตํางกันด๎วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม”
โดยเฉพาะในมิติของการจ๎างแรงงาน จึงนําไปสูํข๎อเสนอแนะการวิจัยในบทที่ 5 ตํอไป
4.11 บทวิเคราะห์ กรณีการให้นมบุตรจากอกแม่ (Breastfeeding)
ในสํวนนี้จะได๎วิเคราะห์ถึงกรณีปัญหาการให๎นมบุตรจากอกแมํในมิติของสิทธิมนุษยชนและการ
เลือกปฏิบัติ
4.11.1 ผลดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) และยูนิเซฟ (UNICEF) แนะนําให๎เลี้ยงลูก
ด๎วยนมแมํใชํวงหกเดือนแรก รวมทั้งให๎นมแมํประกอบกับอาหารเสริมอื่นๆตํอไปอีกสองปี นโยบายการ
สํงเสริมเลี้ยงลูกด๎วยนมแมํ ได๎รับการสนับสนุนจากมติของที่ประชุม World Health Assembly
332
(Resolution WHA 55.25) รวมทั้งคณะกรรมการบริหารของยูนิเซฟ (The UNICEF Executive Board)
ผลการศึกษาชี้ให๎เห็นวําการเลี้ยงลูกด๎วยนมแมํมีความสําคัญตํอพัฒนาการของทารก ลดอัตราการเสียชีวิต
333
ของทารก ลดการติดเชื้อและอาการเจ็บปุวยตํางๆของทารก นอกจากนี้การให๎นมบุตรยังสํงผลดีตํอ
334
สุขภาพของแมํอีกด๎วย ผลการศึกษาชี้ให๎เห็นวํา แมํที่ไมํได๎ให๎นมบุตรมีความเสี่ยงตํอโรคบางอยําง
335
นอกจากนี้การให๎นมบุตรจากอกแมํยังสํงผลดีในเชิงจิตวิทยาตํอความสัมพันธ์ระหวํางแมํและลูก
332 World Health Organization/UNICEF, Global Strategy for Infant and Young Child Feeding (Geneva:
World Health Organization, 2003), pp. 7-8.
333
Melissa Bartick and Arnold Reinhold, “The Burden of Suboptimal Breastfeeding in the United States:
A Pediatric Cost Analysis,” Pediatrics 125, 5 (2010): 1048-1052.
334 Eleanor B Schwarz, et al, “Duration of Lactation and Risk Factors for Maternal Cardiovascular
Disease,” Obstet Gynecol 113, 5 (2009): 974.
335 Miriam H Labbok, “Effects of Breastfeeding on the Mother,” Pediatric Clinics of North America 48,
1 (2001): 143-54.