Page 406 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 406

382


                   ออสเตรเลียเห็นวํา ประวัติความผิดอาญาของเขาไมํมีความสัมพันธ์ใดๆ กับการจ๎างงานตําแหนํงดังกลําว อีก
                                                                                               330
                   ทั้งมิได๎เกิดขึ้นในระหวํางเวลาทํางาน รวมทั้งการขับรถไมํเกี่ยวข๎องกับตําแหนํงงานที่เขาสมัคร


                            หากเปรียบเทียบกับ กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการบางหนํวยงาน เปิดโอกาสข๎อยกเว๎นที่
                   คํานึงถึงปัจจัยด๎านความแตกตํางของโทษอาญา ซึ่งแม๎มีเจตนาทางอาญาแตํก็ไมํได๎มีลักษณะที่กระทบตํอ

                   ลักษณะการทํางาน เชํน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยผู๎ตรวจการแผํนดิน พ.ศ. 2552

                   มาตรา 8 กําหนดวํา “ไมํเคยต๎องคําพิพากษาให๎จําคุก แม๎คดีนั้นจะยังไมํถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว๎น
                   แตํเป็นกรณีที่คดียังไมํถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได๎กระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ

                   หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท”  จะเห็นได๎วํามีการเปิดโอกาสสําหรับผู๎ได๎รับโทษจําคุกจากความผิดฐาน
                   หมิ่นประมาทซึ่งมีการรอการลงโทษ ถึงแม๎วํากฎหมายนี้จะจัดอยูํในกลุํมการกําหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับโทษ

                   จําคุกให๎เป็นคุณสมบัติต๎องห๎ามโดยไมํมีข๎อยกเว๎นในการใช๎ดุลพินิจ แตํสะท๎อนถึงการนําความแตกตํางของ
                   ความผิดบางลักษณะที่ไมํเกี่ยวข๎องกับคุณสมบัติอันจําเป็นตามลักษณะงาน นอกจากนี้ยังอาจเทียบเคียงกับ

                   กรณีคุณสมบัติของผู๎ดํารงตําแหนํงทางการเมือง โดยรัฐธรรมนูญกําหนดคุณสมบัติตําแหนํงทางการเมือง

                   สําหรับบางตําแหนํง เชํน รัฐมนตรี ซึ่งเปิดโอกาสให๎ผู๎ได๎รับโทษจําคุกที่ผํานไประยะเวลาหนึ่งสามารถดํารง
                             331
                   ตําแหนํงได๎


                           นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบกับกฎหมายที่กําหนดคุณสมบัติของอาชีพเฉพาะบางอาชีพ เชํน การ
                   กําหนดคุณสมบัติของ“พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต”  ตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความ

                   ปลอดภัย พ.ศ.2558 นั้นพบวํา มาตรา 34 กําหนดคุณสมบัติต๎องห๎ามอันเกี่ยวกับ “ประวัติอาชญากรรม”
                   ไว๎วํา “เป็นผู้เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุกส าหรับความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย

                   ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ หรือความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วย

                   การพนัน หรือความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้กระท าโดย
                   ประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือพ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีก่อนวันขอรับใบอนุญาตและมิใช่

                   ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา”  จะเห็นได๎วํา กฎหมายฉบับนี้แม๎มีการนําคุณสมบัติ

                   เกี่ยวกับ “ประวัติอาชญากรรม” มาใช๎ในบริบทการประกอบวิชาชีพพนักงานรักษาความปลอดภัย แตํก็อยูํ
                   ภายใต๎เงื่อนไข คุณสมบัติอันเป็นสาระส าคัญของงาน” (Inherent  Requirement  Exception)



                   330
                      Australian Human Rights Commission, Mr CG v. State of New South Wales (Rail Corporation New
                   South Wales) : report into discrimination in employment on the basis of criminal record / Australian
                   Human Rights Commission, 2012
                   331  รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 174 (5) กําหนดคุณสมบัติผู๎ดํารงตําแหนํงรัฐมนตรีวํา “….
                   ไมํเคยต๎องคําพิพากษาให๎จําคุก โดยได๎พ๎นโทษมาไมํถึง 5 ปี กํอนได๎รับตําแหนํง เว๎นแตํในความผิดอันได๎กระทําโดยประมาท
                   หรือความผิดลหุโทษ”
   401   402   403   404   405   406   407   408   409   410   411