Page 402 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 402

378


                                                                                  322
                   Requirement) ทั้งนี้ภายใต๎วัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมายและได๎สัดสํวน  เชํน องค์กรศาสนาอาจระบุ
                   คุณสมบัติจ๎างพนักงานที่นับถือศาสนานั้น ศาลยุติธรรมยุโรป (European  Court  of  Justice  หรือ ECJ)

                   เคยตัดสินไว๎วํา การกําหนดอายุขั้นสูงสําหรับผู๎สมัครตําแหนํงพนักงานดับเพลิง  แม๎เป็นการปฏิบัติแตกตําง
                   กันด๎วยเหตุแหํงอายุ แตํการกําหนดคุณสมบัติดังกลําวมีลักษณะ “จําเป็นอยํางแท๎จริงตํอการทํางานหรือ
                   อาชีพนั้น”  (Genuine  Occupational  Requirement)  เนื่องจากการทํางานตําแหนํงนั้นอาศัยความ
                                                   323
                   แข็งแรงทางกายภาพรวมทั้งสุขภาพที่ดี

                           อยํางไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับกรณีของไทยแล๎วพบวํา ประเทศไทยยังไมํมีกฎหมายที่วางหลัก
                   ห๎ามเลือกปฏิบัติในลักษณะกฎหมายกลาง นอกจากนี้ ยังไมํมีการวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติ

                   อาชญากรรม อีกทั้งไมํมีการกําหนดหลัก“คุณสมบัติที่จําเป็นและเกี่ยวข๎องกับงาน”  ไว๎ในกฎหมายใด
                   โดยเฉพาะ จากการศึกษาคําร๎องและการพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ อาจจําแนกได๎
                   สองกรณีคือ


                            กรณีแรก  ในส่วนของการท างานในส่วนราชการ ซึ่งเป็นกรณีที่มีกฎหมายกําหนดคุณสมบัติ
                   เกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมในการทํางานภาครัฐ จากตัวอยํางคําร๎องและรายงานผลการพิจารณาที่
                   43/2555 แม๎วําเกี่ยวข๎องกับกฎหมายไทยที่กําหนดคุณสมบัติในการรับราชการซึ่งผู๎ร๎องอ๎างวําเป็นการเลือก

                   ปฏิบัติและจํากัดสิทธิในการประกอบอาชีพ แตํมีประเด็นจํากัดเฉพาะตามพระราชบัญญัติระเบียบ
                   ข๎าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 เทํานั้น นอกจากนี้ แม๎คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติได๎จําแนก
                   กฎหมายที่เกี่ยวข๎องกับการกําหนดคุณสมบัติเป็น 3 กลุํม อันทําให๎สามารถวางแนวทางพิจารณาวํากฎหมาย
                   กลุํมใดมีลักษณะเป็นการจํากัดสิทธิในการประกอบอาชีพเกินสมควร แตํหากเปรียบเทียบกับกฎหมาย

                   ตํางประเทศแล๎วจะเห็นได๎วํา ทั้งกฎหมายไทยฉบับตํางๆ ที่กําหนดคุณสมบัติของบุคคลในการทํางานภาครัฐ
                   และ การพิจารณาคําร๎องของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาตินั้น ยังมิได๎มีการนําหลัก “คุณสมบัติอัน
                   จําเป็นที่เกี่ยวข๎องกับงาน” มาประกอบการพิจารณา นอกจากนี้จะเห็นได๎วํา กฎหมายทั้ง 3 กลุํมที่เกี่ยวข๎อง

                   กับงานภาครัฐนั้น สํวนมากแล๎วกําหนดคุณสมบัติต๎องห๎ามในกรณี “คําพิพากษาถึงที่สุดให๎จําคุก เว๎นแตํเป็น
                   โทษสําหรับความผิดที่ได๎กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ”  ซึ่งไมํมีการจําแนกรายละเอียดและ
                   พิจารณาความสัมพันธ์วําความผิดอาญาที่บุคคลนั้นได๎รับมีความเกี่ยวข๎องอยํางไรกับคุณสมบัติของตําแหนํง
                   งานที่ประสงค์จะสมัคร อยํางไรก็ตาม กฎหมายเกี่ยวกับกาดํารงตําแหนํงในภาครัฐบางหนํวยงาน มีการ
                   กําหนดข๎อยกเว๎นที่คํานึงถึงปัจจัยด๎านความแตกตํางของโทษอาญาและความเกี่ยวข๎องกับลักษณะการ



                   322  Council Directive 2000/78/EC Article 4 (Occupational requirements) : “…Member States may provide
                   that a difference of treatment which is based on a characteristic related to any of the grounds referred
                   to in Article 1 shall not constitute discrimination where, by reason of the nature of the particular
                   occupational activities concerned or of the context in which they are carried out, such a characteristic
                   constitutes a genuine and determining occupational requirement, provided that the objective is
                   legitimate and the requirement is proportionate.
                   323  Colin Wolf v. Stadt Frankfurt am Main. C-229/08 Judgment of the Court (Grand Chamber) of 12
                   January 2010
   397   398   399   400   401   402   403   404   405   406   407