Page 399 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 399

375


                                      320
                   บุคคลที่ถูกลงโทษจริง  เชํน บุคคลที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาของศาล ให๎ถือวําไมํเคยได๎รับโทษนั้น แตํ
                   มิได๎เป็นการลบล๎าง “ความผิด” ไปด๎วย แตํกฎหมายฉบับนี้ไมํได๎วางหลักคุ๎มครองตํอไปถึงผลภายหลังจาก

                   การล๎างมลทินในมิติของการจ๎างแรงงานทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนั้น การพิจารณารับหรือไมํรับบุคคลที่
                   ได๎รับการล๎างมลทินเข๎าทํางานยังคงต๎องพิจารณากฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข๎องกับองค์กรนั้นๆ ซึ่งใน
                   ขั้นตอนนี้ยังไมํมีกฎหมายที่วางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมดังกลําวมาแล๎วข๎างต๎น


                           (4) วิเคราะห์การคุ้มครองสิทธิผู้ถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอาชญากรรมในกรอบของ
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                           การนําประวัติอาชญากรรมมากําหนดคุณสมบัติการทํางานของบุคคลยังไมํมีกฎหมายคุ๎มครอง
                   โดยเฉพาะ เมื่อเกิดเหตุขึ้นจึงมีผู๎ที่ได๎รับผลกระทบยื่นคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ จาก

                   การพิจารณาตรวจสอบของคณะกรรมการฯ ดังกลําวมาแล๎วนั้น ผู๎วิจัยเห็นวํา ในกรณีการสมัครงานภาครัฐ

                   ตาม  รายงานผลการพิจารณาที่ 43/2555  นั้นประเด็นหลักของการตรวจสอบคือ “การก าหนดลักษณะ
                   ต้องห้ามของผู้ที่จะเข้ารับราชการ ตาม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภาฯ กระทบสิทธิผู้ร้อง

                   หรือไม่ อย่างไร” ซึ่งคณะกรรมการฯ แบํงกลุํมกฎหมายเป็น 3 กลุํม และวางแนวพิจารณาวํากฎหมายกลุํมที่

                   ไมํมีข๎อยกเว๎นเป็นการจํากัดสิทธิหรือกระทบสิทธิผู๎ร๎อง จะเห็นได๎วําแนววินิจฉัยดังกลําวเป็นการมุํงเน๎น
                   ตรวจสอบการละเมิด “สิทธิในการประกอบอาชีพ” อันเป็นสิทธิมนุษยชนอีกประการหนึ่ง ผู๎วิจัยเห็นวํากรณี

                   นี้ยังไมํได๎มีการมุํงเน๎นพิจารณาในประเด็นที่วํา “กฎหมายเหล่านั้นเลือกปฏิบัติต่อผู้สมัครงานด้วยเหตุประวัติ
                   อาชญากรรมหรือไม่” ซึ่งหากพิจารณาในประเด็นนี้อาจมีปัญหาเนื่องจากยังไมํมีกฎหมายเฉพาะที่วางหลัก

                   ห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมในมิติการจ๎างแรงงาน รวมทั้งความไมํชัดเจนของ “ประวัติ
                   อาชญากรรม” วําจัดอยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนชองไทยเชํนเดียวกับ เชื้อชาติ

                   ศาสนา เพศ ฯลฯ หรือไมํ


                            สําหรับกรณีการสมัครงานภาคเอกชนตามรายงานผลพิจารณาที่ 495/2558 นั้น คณะกรรมการฯ

                   เห็นวําไมํเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือเลือกปฏิบัติ โดยเหตุผลหลักก็คือ “บริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์
                   และเงื่อนไขการพิจารณารับบุคคลเข๎าทํางานแตกตํางกันไป”  เหตุผลของการพิจารณาเชํนนี้ ผู๎วิจัยเห็นวํา

                   เนื่องจากในภาคเอกชนไมํมีกฎหมายกําหนดคุณสมบัติผู๎สมัครดังเชํนภาครัฐ และไมํมีกฎหมายควบคุมการที่

                   ผู๎ประกอบการภาคเอกชนจะกําหนดคุณสมบัติผู๎สมัครงาน จึงเป็นไปตามเจตนาของผู๎ประกอบการแตํละราย







                   320  มาตรา 4 กําหนดวํา “ให๎ล๎างมลทินให๎แกํบรรดาผู๎ต๎องโทษในกรณีความผิดตําง ๆ ซึ่งได๎กระทํากํอนหรือในวันที่ ๕
                   ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ และได๎พ๎นโทษไปแล๎วกํอนหรือในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช๎บังคับ โดยให๎ถือวําผู๎นั้นมิได๎เคยถูกลงโทษ
                   ในกรณีความผิดนั้นๆ”
   394   395   396   397   398   399   400   401   402   403   404