Page 409 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 409

385


                           การเลี้ยงลูกด๎วยนมแมํยังสํงผลดีในเชิงเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ กลําวคือ เนื่องจากการให๎นม
                   แมํสํงผลดีตํอสุขภาพของแมํและเด็ก ดังนั้นในแงํระบบประกันสุขภาพที่รัฐจัดให๎ประชาชนนั้น (Public

                   health system) การให๎นมบุตรจากอกแมํมีสํวนลดภาระคําใช๎จํายของรัฐในการบําบัดรักษาความเจ็บปุวย
                     336
                   ได๎

                           ในสหรัฐอเมริกามีความพยายามที่จะสํงเสริมให๎แมํเลี้ยงลูกด๎วยนมแมํ โดยมีการจัดทําโครงการ
                   “Healthy people 2020” ซี่งมีเปูาหมายสําคัญประการหนึ่งคือ เพิ่มอัตราสํวนแมํที่ให๎นมบุตรให๎ถึงร๎อยละ
                                  337
                   80.9 ในปี 2020

                           จะเห็นได๎วําการเลื้ยงลูกด๎วยนมแมํ สํงผลดีในหลายด๎าน ทั้งในเชิงสุขภาพกาย สุขภาพจิต รวมทั้ง
                   ผลดีในเชิงเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอีกด๎วย ดังนั้น รัฐบาลในหลายประเทศจึงสํงเสริมให๎มีการเลี้ยงลูก
                   ด๎วยนมแมํ





                           4.11.2 การให้นมบุตรจากอกแม่ (Breastfeeding)


                           การเลี้ยงลูกด๎วยนมแมํได๎รับการสนับสนุนอยํางกว๎างขวาง อยํางไรก็ตาม พฤติกรรมหนึ่งซึ่งเกิด
                   ตามมาจากการเลี้ยงลูกด๎วยนมแมํคือการเลี้ยงลูกโดยการให๎นมจากอกแมํ (Breastfeeding) การให๎นมบุตร
                   จากอกของแมํนั้นอาจเกิดขึ้นได๎ทั้งในสถานที่สํวนบุคคลและในที่สาธารณะ ในปัจจุบันการให๎นมบุตรจากอก
                   แมํในที่สาธารณะ เชํน ร๎านอาหาร สถานีรถโดยสาร ในรถโดยสารสาธารณะ เกิดขึ้นอยํางแพรํหลาย

                   อยํางไรก็ตาม บุคคลจํานวนหนึ่งอาจรู๎สึกไมํพอใจหรือมองวําพฤติกรรมการให๎นมบุตรในที่สาธารณะนั้นไมํ
                   เหมาะสม ทําให๎แมํผู๎ให๎นมบุตรจากอกได๎รับการปฏิบัติอันเป็นที่พึงพอใจน๎อยกวําในที่สาธารณะ เชํน ถูก
                   ปฏิเสธการให๎บริการ หรือได๎รับการปฏิบัติจากบุคคลในสังคมด๎วยวาจาหรือพฤติกรรมที่มีลักษณะเหยียด

                   หยามหรือสํงผลตํอเนื่องเชื่อมโยงไปกับการใช๎วาจาที่กํอให๎เกิดความเกลียดชัง (Hate Speech)

                           ในมุมมองสิทธิมนุษยชนนั้น ทั้งเด็กและแมํของเด็กตํางมีสิทธิพื้นฐานในสํวนที่เกี่ยวกับการให๎นม

                   กลําวคือ เด็กมีสิทธิที่จะได๎รับการให๎นม (Right to be breastfed) ในขณะที่มารดามีสิทธิที่จะให๎นม (Right
                                 338
                   to breastfeed)  การที่บุคคลหรือผู๎ให๎บริการตํางๆในสังคมมีพฤติกรรมการปฏิบัติตํอมารดาผู๎ให๎นมบุตร
                   ในที่สาธารณะ จึงอาจจัดเป็นการเลือกปฏิบัติชนิดหนึ่งซึ่งกําลังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอยํางกว๎างขวาง





                   336
                      Melissa Bartick and Arnold Reinhold, “The Burden of Suboptimal Breastfeeding in the United States:
                   A Pediatric Cost Analysis,” Pediatrics 125, 5 (2010): 1048-52.
                   337  http://www.healthypeople.gov/2020/topics-objectives/topic/maternal-infant-and-child-
                   health/objectives?topicId=26
                   338  Naomi B Bar-Yam, “Breastfeeding and Human Rights: Is There a Right to Breastfeed? Is There a Right
                   to Be Breastfed?,” Journal of Human Lactation 19, 4 (2003): 357-61.
   404   405   406   407   408   409   410   411   412   413   414