Page 403 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 403

379


                   ทํางาน เชํน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยผู๎ตรวจการแผํนดิน พ.ศ. 2552 มาตรา 8
                   กําหนดวํา “..ไมํเคยต๎องคําพิพากษาให๎จําคุก แม๎คดีนั้นจะยังไมํถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว๎นแตํเป็น

                   กรณีที่คดียังไมํถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได๎กระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือ
                   ความผิดฐานหมิ่นประมาท”  จะเห็นได๎วําสะท๎อนถึงหลักการพิจารณาความแตกตํางของความผิดบาง
                   ลักษณะและความเกี่ยวข๎องของความผิดดังกลําวกับการทํางานนั้น นอกจากนี้จะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญได๎
                   เคยกําหนดคุณสมบัติตําแหนํงทางการเมืองสําหรับบางตําแหนํง เชํน รัฐมนตรี โดยเปิดโอกาสให๎ผู๎ได๎รับโทษ
                                                               324
                   จําคุกที่ผํานไประยะเวลาหนึ่งสามารถดํารงตําแหนํงได๎

                            กรณีที่สอง ในส่วนของการจ้างงานภาคเอกชน จากกรณีตัวอยํางคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิ

                   มนุษยชนแหํงชาติ (ค าร้องที่  486/2556 ,รายงานผลพิจารณาที่ 495/2558) ซึ่งเป็นกรณีที่ผู๎ร๎องถูกศาล
                   พิพากษาลงโทษจําคุกในคดีลักทรัพย์และรอลงอาญาไว๎ 2 ปี ตํอมาผู๎ร๎องได๎สมัครเข๎าเป็นพนักงานขาย
                   รถยนต์บริษัทเอกชนแหํงหนึ่ง แตํถูกปฏิเสธการบรรจุ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวําไมํมีการ
                   ละเมิดสิทธิมนุษยชนเนื่องจาก “บริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณารับบุคคลเข๎าทํางาน

                   แตกตํางกันไป” ผู๎เขียนเห็นวําเหตุผลของการพิจารณาเชํนนี้สืบเนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยยังไมํมี
                   กฎหมายที่วางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติสําหรับภาคเอกชนในมิติของการจ๎างแรงงานดังเชํนกฎหมาย
                   ตํางประเทศ ดังนั้น การตัดสินใจจ๎างแรงงานในภาคเอกชนจึงอยูํภายใต๎หลักการแสดงเจตนาทําสัญญาตาม
                   กฎหมายแพํง แตํหากพิจารณากรณีนี้ตามหลัก “คุณสมบัติที่จําเป็นอันเกี่ยวข๎องกับงาน”  แล๎วอาจเป็น

                   ประเด็นที่ถกเถียงได๎วํา การที่ผู๎ร๎องเคยถูกศาลพิพากษาให๎ลงโทษจําคุกฐานลักทรัพย์นั้นไมํมีความเกี่ยวข๎อง
                   กับการสมัครงานในตําแหนํงพนักงานขาย


                           ดังนั้นจะเห็นได๎วํา การกําหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับ “ประวัติอาชญากรรม”  หรือประวัติความผิด
                   อาญา ในลักษณะครอบคลุมอยํางกว๎าง เชํน “เคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให๎จําคุก เว้นแต่ความผิดที่กระท า

                   โดยประมาทหรือลหุโทษ”  ซึ่งปรากฏในกฎหมายหลายฉบับในสํวนของการจ๎างงานภาครัฐรวมทั้ง
                   กฎระเบียบหรือนโยบายภาคเอกชนหลายแหํง สะท๎อนถึงแนวคิดที่วํา บุคคลที่มี “เจตนา” ทางอาญาในการ

                   กระทําความผิดและได๎รับโทษจําคุกเป็นบุคคลที่ไมํเหมาะสมในการทํางาน ดังจะเห็นได๎จากการยกเว๎น

                   สําหรับกรณีความผิดที่กระทําโดยประมาทและความผิดลหุโทษซึ่งเป็นความผิดเล็กน๎อยที่ไมํมีองค์ประกอบ
                                         325
                   ด๎าน “เจตนา” ทางอาญา  จะเห็นได๎วําการกําหนดคุณสมบัติดังกลําวเชื่อมโยง “เจตนา” ทางอาญากับ
                   “คุณสมบัติอันเป็นสาระสําคัญของงาน”  โดยสํงผลให๎บุคคลผู๎มีเจตนาทําผิดอาญาและศาลพิพากษาให๎

                   ลงโทษจําคุกนั้น เป็นบุคคลที่ขาดคุณสมบัติอันจําเป็นกับงานนั้น หลักการเชํนนี้อาจมีสํวนเกี่ยวข๎องในระดับ



                   324
                      รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 174 (5) กําหนดคุณสมบัติผู๎ดํารงตําแหนํงรัฐมนตรีวํา “….
                   ไมํเคยต๎องคําพิพากษาให๎จําคุก โดยได๎พ๎นโทษมาไมํถึง 5 ปี กํอนได๎รับตําแหนํง เว๎นแตํในความผิดอันได๎กระทําโดยประมาท
                   หรือความผิดลหุโทษ”
                   325  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 104 กําหนดวํา “การกระทําความผิดลหุโทษตามประมวลกฎหมายนี้ แม้กระท าโดยไม่
                   มีเจตนาก็เป็นความผิด เว๎นแตํตามบทบัญญัติความผิดนั้นจะมีความบัญญัติให๎เห็นเป็นอยํางอื่น”
   398   399   400   401   402   403   404   405   406   407   408