Page 398 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 398
374
พฤติกรรมที่เกี่ยวข๎อง (Underlying Conduct) โดยอธิบายวํา หากตีความ “ประวัติอาชญากรรม” โดย
จํากัด (กลําวคือ จํากัดเฉพาะการตัดสินใจไมํจ๎างงานจาก “การมีอยูํซึ่งประวัติอาชญากรรม”) จะทําให๎เกิด
การสร๎างภาพเหมารวม (Stereotype) ในทางลบอันเกี่ยวกับการประเมินคุณสมบัติของผู๎ร๎องและสํงผล
317
กระทบตํอหลักความเสมอภาคและไมํเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการฯ เห็นวํา
หากจําแนกความแตกตํางระหวําง ตัวประวัติอาชญากรรม และ สถานการณ์แวดล๎อมที่ความผิดนั้นได๎
กระทําขึ้น จะทําให๎ผู๎ถูกร๎องสามารถเลี่ยงจากหลักห๎ามเลือกปฏิบัติ โดยอ๎างวําการปฏิบัตินั้นทําขึ้นบน
พื้นฐานของสภาพการณ์แวดล๎อมของการกระทําผิด มิใชํเพราะประวัติอาชญากรรมนั้นเอง ดังนั้นจะเห็นได๎
วํา การตีความตามแนวทางของออสเตรเลียนั้น แม๎การที่ผู๎รับสมัครงานหรือนายจ๎างตัดสินใจเกี่ยวกับการ
จ๎างแรงงานโดยพิจารณาจาก “พฤติกรรม อุปนิสัย” แตํหากพฤติกรรมหรืออุปนิสัยนั้น สืบเนื่องมาจาก
“ประวัติอาชญากรรม” ก็ถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม” ด๎วย การตีความ
แนวทางนี้จึงให๎น้ําหนักกับการคุ๎มครองสิทธิของผู๎ถูกเลือกปฏิบัติจากกรณีประวัติอาชญากรรม
(3) กฎหมายเฉพาะอื่นที่เกี่ยวข้องกับประวัติอาชญากรรม เชํน ระเบียบส านักงานต ารวจ
แห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการต ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 32 การพิมพ์ลายนิ้วมือ พ.ศ.2554
ซึ่งมีหลักการวํา พนักงานสอบสวนต๎องจัดให๎มีการพิมพ์ลายนิ้วมือ “ผู้ต้องหาคดีอาญาทุกประเภท เว้นแต่คดี
ลหุโทษ..หรือ ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก รวมทั้งความผิดตามกฎหมายอื่นๆ ซึ่งได้
เปรียบเทียบปรับแล้ว” ดังนั้นจะเห็นได๎วํา โดยหลักแล๎วเมื่อบุคคลตกเป็นผู๎ต๎องหาคดีอาญา ก็จะต๎องถูกเก็บ
ลายพิมพ์นิ้วมือเป็นประวัติอาชญากรรม ซึ่งหนํวยงานของรัฐ หรือ หนํวยงานเอกชนอาจขอให๎มีการ
318
ตรวจสอบประวัติลูกจ๎างของตนได๎ อยํางไรก็ตามข๎อมูลนี้อาจถูกคัดแยกออกจากสารบบได๎ในบางเหตุที่
ระเบียบฉบับนี้กําหนด เชํน “ศาลสั่งยกฟูอง ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดให๎ยกฟูอง ผู๎เสียหายถอนคําร๎องทุกข์
319
ถอนฟูอง หรือยอมความกันโดยถูกต๎องตามกฎหมาย” ดังนั้นจะเห็นได๎วํา การประกอบอาชีพในภาครัฐ
หรือภาคเอกชน ก็อาจมีการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมที่มีการบันทึกไว๎นี้ โดยหลังจากตรวจสอบแล๎ว
หากพบวํามีประวัติอาชญากรรม ก็มิได๎มีกฎหมายใดคุ๎มครองผู๎ที่ไมํได๎รับการจ๎างหรือถูกเลิกจ๎างด๎วยเหตุมี
ประวัติอาชญากรรมดังกลําว แม๎วําประวัติอาชญากรรมนั้นจะไมํเกี่ยวข๎องกับงานที่สมัครหรือที่ทําอยูํก็ตาม
ดังนั้นจะเห็นได๎วําไทยยังขาดกฎหมายในขั้นตอนของการนําข๎อมูลประวัติอาชญากรรมมาใช๎ในการตัดสินใจ
ที่เกี่ยวกับการจ๎างงานซึ่งเป็นคนละขั้นตอนกับระเบียบของสํานักงานตํารวจแหํงชาติดังกลําว
นอกจากนี้ยังมีกฎหมายเฉพาะอื่น เชํน พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนพรรษา 80 พรรษา พ.ศ.2550 ซึ่งเป็นการล๎างโทษให๎กับ
317
อ๎างเหตุผลจากคําพิพากษาคดี Commonwealth v. Bradley per Black CJ (Bradley's case)
318 ระเบียบสํานักงานตํารวจแหํงชาติวําด๎วยประมวลระเบียบการตํารวจไมํเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 32 การพิมพ์ลายนิ้วมือ
พ.ศ.2554 บทที่ 3 ข๎อ 4
319 ระเบียบสํานักงานตํารวจแหํงชาติวําด๎วยประมวลระเบียบการตํารวจไมํเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 32 การพิมพ์ลายนิ้วมือ
พ.ศ.2554 บทที่ 4 ข๎อ 1