Page 397 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 397

373


                   เนื่องจากประเด็นสําคัญอยูํที่วํา การตัดสินใจหรือนโยบายเกี่ยวกับการจ๎างงานซึ่งมีการนําประวัติ
                   อาชญากรรม ไมํวําจะเป็นประวัติการถูกศาลลงโทษหรือการถูกจับและตั้งข๎อหา นั้นมีมูลเหตุเกี่ยวพันกับ

                   “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  ตามกฎหมายสิทธิพลเมืองหรือไมํ เชํน การที่นายจ๎างตัดสินใจไมํรับผู๎สมัครซึ่ง
                   เคยมีประวัติถูกตํารวจจับและตั้งข๎อหา แตํไมํถูกศาลตัดสินวํามีความผิด โดยการตัดสินใจนี้ปรากฏวํามีความ
                                                   315
                   เกี่ยวข๎องกับเหตุที่ผู๎สมัครเป็นคนผิวสี  กรณีเชํนนี้ก็ถือได๎วํานายจ๎างเลือกปฏิบัติอันฝุาฝืนกฎหมายสิทธิ
                   พลเมืองแล๎ว แตํทั้งนี้ การเลือกปฏิบัติดังกลําวเกิดขึ้นด๎วยเหตุ “เชื้อชาติ สีผิว”  มิใชํด๎วยเหตุ “ประวัติ

                   อาชญากรรม”  ดังนั้นอาจกลําวได๎วํา ประวัติอาชญากรรม ตามกฎหมายสิทธิพลเมืองของสหรัฐอเมริกา มี
                   ความหมายกว๎างกวําการถูกศาลตัดสินโทษ แตํมิได๎เป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติด๎วยตัวเองเนื่องจากต๎อง
                   พิจารณาความสัมพันธ์กับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายกําหนดไว๎ด๎วย


                           ประเด็นที่สอง : การห้ามเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม” จ ากัดเฉพาะ การปฏิบัติต่อ
                   บุคคลโดยอาศัยเหตุแห่งการมีอยู่ซึ่งประวัติอาชญากรรมนั้นเอง หรือครอบคลุมถึงการปฏิบัติต่อบุคคลโดย
                   อาศัย “สภาพแวดล้อมหรือเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับประวัติอาชญากรรมด้วย” ทั้งนี้เนื่องจากฝุายผู๎รับสมัครงาน

                   มักจะอ๎างวํา การปฏิเสธการจ๎างไมํได๎เกิดขึ้นจาก “ประวัติอาชญากรรม” กลําวคือ การตัดสินใจเกี่ยวกับการ
                   จ๎างแรงงานนั้นไมํเกี่ยวข๎องกับ “การมีอยูํ หรือ ไมํมีอยูํ” ของประวัติอาชญากรรม แตํตัดสินใจโดยพิจารณา
                   คุณสมบัติบางประการของผู๎สมัคร ซึ่งสะท๎อนให๎เห็นจาก สภาพแวดล๎อมหรือสถานการณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับ
                   “ประวัติอาชญากรรม” นั้น เชํน ผู๎คัดเลือกคนเข๎าทํางานมิได๎ปฏิเสธผู๎สมัครเนื่องจากมีประวัติความผิดฐาน

                   ลักทรัพย์ แตํปฏิเสธเพราะสภาพแวดล๎อมของความผิดนั้นสะท๎อนให๎เห็น คุณสมบัติ พฤติกรรม หรืออุปนิสัย
                   ของผู๎สมัครที่มีแนวโน๎มขาดความสุจริตและไมํนําไว๎วางใจ เป็นต๎น ในประเด็นนี้ คณะกรรมการสิทธิ
                   มนุษยชนออสเตรเลียได๎เคยวินิจฉัยไว๎ในกรณีซึ่งผู๎ร๎องอ๎างวําถูกปฏิเสธการรับเข๎าทํางานด๎วยเหตุ “ประวัติ
                                                                316
                   อาชญากรรม”  ของตนที่เคยถูกลงโทษฐานลักทรัพย์  อยํางไรก็ตาม ผู๎ถูกร๎องซึ่งเป็นกรรมการพิจารณา
                   คัดเลือกเข๎าทํางานโต๎แย๎งวํามิได๎ตัดสินใจด๎วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม” แตํการตัดสินใจไมํรับเข๎าทํางาน
                   เป็นไปด๎วยเหตุผลอื่น กลําวคือ เมื่อพิจารณาลักษณะและสถานการณ์ของความผิดของผู๎ร๎องนั้น ผู๎ถูกร๎อง
                   เห็นวําเป็นการแสดงถึง “พฤติกรรม” หรือคุณสมบัติที่เกี่ยวกับอุปนิสัยที่ไมํสอดคล๎องกับคุณสมบัติของการ
                   ทํางานที่ต๎องการความเชื่อใจ จึงไมํรับเข๎าทํางานด๎วยเหตุผลนี้ อยํางไรก็ตาม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

                   ออสเตรเลีย นําแนวทางการตีความอยํางกว๎าง (Liberal Construction) มาประกอบการตีความ “ประวัติ
                   อาชญากรรม”  วํา ไมํจํากัดเฉพาะประวัติเกี่ยวกับการตัดสินโทษจริงเทํานั้น (Actual  Record  of
                   Conviction)  แตํรวมถึงสถานการณ์เกี่ยวกับการตัดสินโทษ (Circumstance  of  the  Conviction)  และ


                   315  เทียบเคียงกับตัวอยํางที่ EEOC อธิบายไว๎ในแนวทางการบังคับใช๎กฎหมายสิทธิพลเมือง วํา กรณีบุคคลอเมริกันเชื้อชาติ
                   แอฟริกัน ถูกเจ๎าหน๎าที่ตํารวจเรียกตรวจและถูกตั้งข๎อหาขัดคําสั่งเจ๎าพนักงาน แตํตํอมาพนักงานอัยการสั่งไมํฟูอง อยํางไรก็
                   ตามในฐานข๎อมูลของตํารวจบันทึกประวัติการถูกตั้งข๎อหานี้ไว๎ และนายจ๎างนําไปใช๎ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจ๎างงานเชํน
                   การเลื่อนตําแหนํง โดยผู๎ได๎รับผลกระทบสามารถแสดงให๎เห็นวําเกิดผลกระทบจากการเลือกปฏิบัติโดยมีความแตกตํางกับ
                   ลูกจ๎างผิวขาวที่อยูํในสถานะเชํนเดียวกัน ประกอบกับนายจ๎างไมํอาจแสดงให๎เห็นวําประวัติดังกลําวมีความเกี่ยวข๎องกับการ
                   เลื่อนตําแหนํงหรือมีความจําเป็นทางธุรกิจอยํางไร กรณีนี้อาจเป็นการเลือกปฎิบัติอันฝุาฝืนกฎหมายสิทธิพลเมืองด๎วยเหตุ
                   แหํง “เชื้อชาติ” (Race) : Ibid.
                   316
                      Ms Renai Christensen v. Adelaide Casino Pty Ltd,  HREOC Report No. 20
   392   393   394   395   396   397   398   399   400   401   402