Page 395 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 395

371


                   (Employment  and  Occupation)  มีความหมายกว๎าง รวมถึง “การเข๎าถึงการฝึกงาน การทํางาน และ
                   การเข๎าสูํอาชีพใดอาชีพหนึ่ง และเงื่อนไขการจ๎างงาน”  ดังนั้นจึงมิได๎จํากัดเฉพาะการปฏิบัติในขั้นตอน

                   ความสัมพันธ์ระหวํางนายจ๎างลูกจ๎าง เชํน เงื่อนไขการทํางาน การเลื่อนขั้น การเลิกจ๎าง ฯลฯ เทํานั้น แตํยัง
                   ครอบคลุมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข๎องกํอนการเข๎าสูํสัญญาจ๎างแรงงานด๎วย เชํน การสรรหา (Recruitment)
                   การประกาศรับสมัครงาน การคัดเลือก (Selection)  เป็นต๎น ในกรณีของกฎหมายไทยนั้น ไมํมีกฎหมาย
                   ห๎ามเลือกปฎิบัติที่เป็นกฎหมายกลางอันครอบคลุมมิติตํางๆ หลายมิติ โดยมีกฎหมายเฉพาะที่ครอบคลุมบาง

                   มิติ เชํน การจ๎างแรงงานแตํไมํระบุเหตุประวัติอาชญากรรมไว๎เฉพาะดังกลําวมาแล๎ว นอกจากนี้ยังมีปัญหา
                   สําคัญคือ การขาดกฎหมายคุ๎มครองในขั้นตอนกํอนสัญญาจ๎างแรงงาน เชํน การประกาศรับสมัคร การ
                   คัดเลือก การสัมภาษณ์ เป็นต๎น สําหรับการขาดกฎหมายกลางที่ครอบคลุมมิติอื่นก็เป็นปัญหาที่สําคัญ เชํน
                   กรณีของประวัติอาชญากรรมนั้นอาจมีการการเลือกปฏิบัติในมิติอื่นนอกจากการจ๎างแรงงานได๎ เชํน

                   สถาบันการศึกษาที่ไมํรับบุคคลเข๎าศึกษาด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรม การให๎บริการภาคเอกชนที่ปฏิเสธไมํ
                   ให๎บริการด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรม เป็นต๎น


                           (2) ขอบเขตความหมายของ “ประวัติอาชญากรรม”


                           ในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมนั้น
                   ผู๎วิจัยเห็นวําประเด็นเกี่ยวกับขอบเขตความหมายของประวัติอาชญากรรม อาจจําแนกพิจารณาออกเป็น

                   ประเด็นยํอย 2 ประเด็นดังนี้


                           ประเด็นแรก : “ประวัติอาชญากรรม” หมายความเฉพาะการถูกศาลตัดสินว่ามีความผิด หรือ มีนัย

                   ที่กว้างกว่านั้น เช่น รวมถึงการมีประวัติเนื่องจากตกเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญาด้วย เป็นต้น


                           ในประเด็นนี้หากพิจารณากฎหมายแคนาดาจะพบวํา มีการจําแนกความแตกตํางระหวําง “การถูก
                   ตั้งข๎อหา” (Criminal charge) กับ การถูกตัดสินโทษ (Conviction) แตํมีขอบเขตแตกตํางกันไป สําหรับใน

                   ระดับสหพันธรัฐนั้น กฎหมายสิทธิมนุษยชนระดับสหพันธรัฐ (Federal Human Rights Act) ชองแคนาดา

                   จํากัดขอบเขตความหมายของประวัติอาชญากรรมไว๎แคบ เฉพาะการถูกศาลตัดสินให๎ได๎รับโทษทางอาญา
                   อีกทั้งต๎องเป็นกรณีที่ได๎รับการระงับประวัติอาชญากรรม ดังนั้น หากเป็นกรณีการถูกตั้งข๎อหา หรือการถูก

                   ตัดสินโทษแตํไมํได๎รับอนุญาตให๎ระงับประวัติอาชญากรรม ก็ไมํถือเป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่ได๎รับการ
                   คุ๎มครองตามกฎหมาย หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ อาจเลือกปฏิบัติตํอบุคคลที่มีประวัติอาชญากรรมอันไมํเข๎า

                   เงื่อนไขดังกลําวนี้ได๎ อยํางไรก็ตาม สําหรับกฎหมายระดับมลรัฐนั้นพบวํามีหลักการแตกตํางกันไป บางมลรัฐ

                   ครอบคลุมเฉพาะการถูกตัดสินโทษอาญา (Convicted  of  criminal  offence)  ในขณะที่บางมลรัฐ
                   ครอบคลุมการถูกตั้งข๎อหาด๎วย
   390   391   392   393   394   395   396   397   398   399   400