Page 393 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 393

369


                           ข๎อเท็จจริงสรุปได๎วํา ผู๎ร๎องมีประเด็นเรื่องการปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิและ
                   เสรีภาพในการประกอบอาชีพ กรณีนายจ๎างนําข๎อมูลประวัติอาชญากรรมมาประกอบการพิจารณารับบรรจุ

                   เข๎าทํางานโดยไมํเป็นธรรม ผู๎ร๎องเคยถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุกในคดีลักทรัพย์ และรอลงอาญาไว๎ 2 ปี
                   ตํอมาผู๎ร๎องได๎สมัครเข๎าเป็นพนักงานขายรถยนต์บริษัทเอกชนแหํงหนึ่ง ผู๎ร๎องได๎ปฏิบัติงานผํานการทดลอง
                   งาน 3 เดือนและถูกตรวจประวัติอาชญากรรม ผลตรวจพบวําผู๎ร๎องมีประวัติถูกดําเนินคดีอาญา บริษัท
                   ปฏิเสธการบรรจุผู๎ร๎องเข๎าเป็นพนักงาน ผู๎ร๎องเห็นวํานายจ๎างควรพิจารณาจากผลงานการปฏิบัติงานและ

                   ความประพฤติของผู๎ร๎องเป็นหลัก ไมํควรนําทะเบียนประวัติอาชญากรรมในอดีตมาประกอบการพิจารณา
                   เทํากับไมํให๎โอกาสผู๎ที่เคยทําผิดได๎กลับเป็นคนดีและประกอบอาชีพที่มั่นคง ผู๎ร๎องมีความประสงค์ให๎
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ ตรวจสอบ การกระทําอันไมํเป็นธรรมโดยการนําทะเบียนประวัติ
                   อาชญากรรมมาประกอบการพิจารณาบรรจุพนักงาน


                           คณะอนุกรรมการด๎านกฎหมายและการปฏิบัติไมํเป็นธรรม พิจารณาแล๎วมีประเด็นที่ต๎องวินิจฉัยคือ
                   การที่บริษัทเอกชนนําข๎อมูลประวัติอาชญากรรมมาประกอบการพิจารณารับบุคคลเข๎าทํางานเป็นการ

                   กระทําหรือละเลยการกระทําอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมํ คณะอนุกรรมการพิจารณาแล๎วเห็นวํา
                   ตามคําร๎องผู๎ร๎องถูกปฏิเสธไมํรับเข๎าทํางานเนื่องจากเคยต๎องโทษคดีอาญาที่ปรากฏในทะเบียนอาชญากรรม
                   จากการพิจารณาตามระเบียบสํานักงานตํารวจแหํงชาติวําด๎วยประมวลระเบียบการตํารวจไมํเกี่ยวกับคดี
                   ลักษณะที่ 12 การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่2) พ.ศ.2556 ซึ่งเป็นระเบียบใหมํ กรณีของผู๎ร๎องก็ไมํเข๎าขํายที่จะ

                   ได๎รับการคัดแยกประวัติออกจากสารบบ และเมื่อพิจารณามาตรา 4 แหํงพระราชบัญญัติล๎างมลทินใน
                   วโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนพรรษา 80  พรรษา พ.ศ. 2550 แล๎ว
                   นั้นกรณีผู๎ร๎องแม๎เป็นผู๎ที่ได๎รับการล๎างมลทินตามพระราชบัญญัติล๎างมลทินฯ พ.ศ. 2550 ก็มีผลแตํเพียงวําผู๎

                   ร๎องไมํเคยถูกลงโทษในข๎อหานั้นๆ มากํอนเทํานั้น

                           เนื่องจากบริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณารับบุคคลเข๎าทํางานแตกตํางกันไป โดย

                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเสนอแนะเชิงนโยบายไปยังหนํวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจให๎เปิด
                   โอกาสให๎บุคคลที่เคยรับโทษโดยคําพิพากษาสามารถใช๎สิทธิในการรับสมัครรับราชการและสามารถกลับตัว
                   เป็นคนดีตํอไป ความเห็นของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ เห็นวํา กรณีตามคําร๎องเป็นหลักเกณฑ์
                   และเงื่อนไขของบริษัทเอกชนในการรับสมัครบุคคลเข๎าทํางานที่แตกตํางกันโดยพิจารณาเป็นรายกรณี
                   อยํางไรก็ตาม แม๎แตํในหนํวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจยังมีการพิจารณาหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการรับ

                   สมัครบุคคลเข๎าทํางานแตกตํางกันไป โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเสนอแนะเชิงนโยบายไปยัง
                   หนํวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจให๎เปิดโอกาสให๎บุคคลที่เคยรับโทษโดยคําพิพากษาสามารถใช๎สิทธิในการ
                   รับสมัครรับราชการและสามารถกลับตัวเป็นคนดีเพื่อทําประโยชน์ให๎กับสังคมและประเทศชาติ และเพื่อให๎

                   เกิดความเป็นธรรมและมาตรฐานเดียวดันตํอไป นอกจากนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติยังมีการ
                   ประชุมรํวมกับหนํวยงานภาครัฐ เอกชน สมาคมตํางๆ และภาคสํวนที่เกี่ยวข๎องในการจัดนํารํองรับสมัคร
                   บุคคลที่เคยต๎องโทษคดีถึงที่สุดเข๎าทํางาน เพื่อเป็นหลักประกันให๎ผู๎ประกอบการ ในการรับบุคคลเคย
                   ต๎องโทษเข๎าทํางาน รวมทั้งการแก๎ไขปัญหาอยํางเป็นรูปธรรม จากกรณีบริษัทเอกชนไมํรับบรรจุบุคคลเข๎า
   388   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398