Page 390 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 390
366
ทํางาน อันเป็นผลสืบเนื่องจากการได๎รับโทษจําคุก ดังนั้น จึงจําต๎องมีมาตรการทางกฎหมายอื่นมารองรับ
หรือคุ๎มครองบุคคลกลุํมนี้ โดยเฉพาะอยํางยิ่ง กฎหมายเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติในมิติของแรงงานที่
ครอบคลุมเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตํางๆ รวมทั้ง “ประวัติอาชญากรรม” ซึ่งในปัจจุบันไทยยังไมํมีกฎหมาย
ลักษณะนี้
4.10.3 การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม” ในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชนของ
ไทย
ปัจจุบันกฎหมายไทยไมํมีกฎหมายสิทธิมนุษยชนที่วางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติในลักษณะของ
กฎหมายกลางที่มีขอบเขตครอบคลุมมิติตํางๆและเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตํางๆดังเชํนกฎหมายออสเตรเลีย
อยํางไรก็ตาม ประเด็นการนําข๎อมูลประวัติอาชญากรรมของบุคคลมาปฏิบัติตํอบุคคลนั้นในลักษณะเป็นที่
พึงพอใจน๎อยกวําบุคคลอื่นในมิติของการจ๎างแรงงานนั้นปรากฏอยูํอยํางตํอเนื่อง โดยอาจจําแนกเป็นกรณี
การจ๎างงานในภาครัฐและภาคเอกชน
4.10.3.1 กรณีประวัติอาชญากรรมกับการจ้างงานในภาครัฐ
กฎหมายไทยที่นํา “ประวัติอาชญากรรม” เข๎ามาระบุเป็นคุณสมบัติการเข๎ารับราชการนั้นมีหลาย
ฉบับ ซึ่งมีรายละเอียดแตกตํางกันไป จากรายงานผลการพิจารณาที่ 43/2555 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
310
แหํงชาติได๎จําแนกกฎหมาย กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข๎องเป็น 3 กลุํมคือ
กลุ่มแรก : กฎหมายหรือระเบียบที่กําหนดให๎การต๎องคําพิพากษาถึงที่สุดให๎จําคุกเป็นคุณสมบัติ
และลักษณะต๎องห๎ามในการเข๎ารับราชการ โดยไมํมีการกําหนดข๎อยกเว๎นให๎มีการใช๎ดุลพินิจยกเว๎นลักษณะ
ต๎องห๎ามได๎ เชํน พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547
พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการการเมือง พ.ศ. 2535 ระเบียบกระทรวงกลาโหมวําด๎วยการบรรจุ การ
โอน และการบรรจุกลับเข๎ารับราชการ พ.ศ. 2529 เป็นต๎น นอกจากนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญวําด๎วยผู๎ตรวจการแผํนดิน พ.ศ. 2552 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยการตรวจ
เงินแผํนดิน พ.ศ. 2542 ก็มีการกําหนดคุณสมบัติและลักษณะต๎องห๎ามในการต๎องคําพิพากษาถึงที่สุดให๎
จําคุก โดยไมํมีการกําหนดข๎อยกเว๎น กฎหมายกลุํมนี้กําหนดคุณสมบัติและลักษณะต๎องห๎ามกรณีที่เคยได๎รับ
310 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ, “สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพกรณีผู๎ที่เคยรับโทษจําคุกถูกจํากัดสิทธิ
ในการเข๎ารับราชการ,” สิทธิมนุษยชนด้านกฎหมายและการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม, ส านักงานคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ (2558): 19-23.