Page 388 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 388

364


                   เพราะเหตุที่บุคคลนั้นเป็นเพศชายหรือเพศหญิง หรือมีการแสดงออกที่แตกตํางจากเพศโดยกําเนิด” สําหรับ
                   หลักการห๎ามเลือกปฏิบัตินั้นปรากฏใน มาตรา 17 ซึ่งวางหลักวํา“การกําหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ

                   ประกาศ มาตรการ โครงการ หรือวิธีปฏิบัติของหนํวยงานของรัฐ ขององค์กรเอกชน ในลักษณะที่เป็นการ
                   เลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมระหวํางเพศจะกระทํามิได๎” กฎหมายนี้อาจปรับใช๎ในกรณีการเลือกปฏิบัติด๎วย
                   เหตุแหํงเพศ ในมิติของการจ๎างแรงงานโดยเฉพาะในขั้นตอนกํอนการเป็น “ลูกจ๎าง”  เชํน การประกาศรับ
                   สมัครงาน การคัดเลือกที่มีลักษณะการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศ อยํางไรก็ตาม กฎหมายนี้มีขอบเขต

                   จํากัดเฉพาะการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศ ไมํครอบคลุมการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุอื่น เชํน เหตุประวัติ
                   อาชญากรรม


                           - พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 วางหลักกฎหมายที่
                   สําคัญเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติในมาตรา 15 วํา “การกําหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ มาตรการ โครงการ
                   หรือวิธีปฏิบัติของหนํวยงานของรัฐ องค์กรเอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็น
                                             306
                   ธรรมตํอคนพิการจะกระทํามิได๎  จะเห็นได๎วํา กฎหมายนี้อาจปรับใช๎ในกรณีการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง
                   ความพิการ ในมิติของการจ๎างแรงงานและอาจรวมถึงขั้นตอนกํอนการเป็น “ลูกจ๎าง”  เชํน การกําหนด
                   นโยบายการรับสมัครงานของภาคเอกชนที่มีลักษณะการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงความพิการ อยํางไรก็ตาม
                   กฎหมายนี้มีขอบเขตจํากัดเฉพาะการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงความพิการ ไมํครอบคลุมการเลือกปฏิบัติด๎วย
                   เหตุอื่น เชํน เหตุประวัติอาชญากรรม


                           ดังนั้นจะเห็นได๎วํา ปัจจุบันประเทศไทยยังไมํมีกฎหมายเฉพาะที่วางหลักครอบคลุมกรณีการนําเหตุ
                   เกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมมาปฏิบัติตํอบุคคลให๎เกิดความแตกตํางระหวํางบุคคลที่มีประวัติอาชญากรรม

                   กับบุคคลที่ไมํมีประวัติอาชญากรรมในมิติการจ๎างแรงงาน










                           (2) กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับประวัติอาชญากรรม







                   306
                      กฎหมายฉบับนี้นิยามความหมายของ“คนพิการ” ไว๎วํา “บุคคลซึ่งมีข๎อจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือ
                   เข๎าไปมีสํวนรํวมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพรํองทางการเห็น การได๎ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์
                   พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู๎ หรือความบกพรํองอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด๎านตําง ๆ และมีความจําเป็นเป็น
                   พิเศษที่จะต๎องได๎รับความชํวยเหลือด๎านหนึ่งด๎านใด เพื่อให๎สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือเข๎าไปมีสํวนรํวม
                   ทางสังคมได๎อยํางบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีวําการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
                   ของมนุษย์ประกาศกําหนด”
   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392   393