Page 387 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 387

363





                           4.10.2 กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกปฏิบัติในมิติการจ้างแรงงาน



                           สําหรับกฎหมายไทยที่เกี่ยวข๎องจะจําแนกเป็นสองกลุํมได๎แกํ กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับการห๎าม

                   เลือกปฏิบัติในมิติการจ๎างแรงงาน และ กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข๎องกับประวัติอาชญากรรมของบุคคล

                           (1) กฎหมายเฉพาะของไทยเกี่ยวกับการห้ามเลือกปฏิบัติในมิติของการจ้างแรงงาน


                           สําหรับกฎหมายไทยนั้นพบวํา มีกฎหมายเฉพาะหลายฉบับที่มีหลักการเกี่ยวข๎องและอาจนํามาปรับ
                   ใช๎กับการเลือกปฏิบัติในมิติการจ๎างแรงงาน เชํน


                           - พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. 2541 มีหลักการที่เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันและ
                                                                 303
                   ห๎ามการเลือกปฏิบัติหลายมาตรา เชํน มาตรา 11/1  วางหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติระหวํางลูกจ๎าง
                                                                                                     304
                   รับเหมาคําแรงกับลูกจ๎างตามสัญญาจ๎างโดยตรง ในกรณีสิทธิประโยชน์และสวัสดีการ มาตรา 15  วาง
                                                                           305
                   หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติระหวํางลูกจ๎างชายและหญิง มาตรา 89  ห๎ามเลือกปฏิบัติในกรณีที่เกี่ยวกับ
                   ประกาศกําหนดอัตราคําจ๎างขั้นต่ํา อยํางไรก็ตาม แม๎พระราชบัญญัติคุ๎มครองแรงงานวางหลักการห๎ามเลือก
                   ปฏิบัติในหลายกรณี แตํก็มีขอบเขตจํากัดเฉพาะการเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหวํางนายจ๎างและ

                   ลูกจ๎างตามสัญญาจ๎างแรงงาน เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายตํางประเทศจะเห็นได๎วํา การเลือกปฏิบัติในมิติ
                   ของการจ๎างแรงงาน มีขอบเขตกว๎างกวําโดยครอบคลุมการปฏิบัติในขั้นตอนกํอนการเกิดสัญญาจ๎างแรงงาน
                   หรือกํอนการมีความสัมพันธ์ในฐานะนายจ๎างและลูกจ๎าง เชํน การสรรหา การคัดเลือกบุคคลเข๎าทํางาน เป็น
                   ต๎น ดังนั้นหลักกฎหมายนี้จึงไมํครอบคลุมการเลือกปฏิบัติโดยอาศัยเหตุประวัติอาชญากรรมในขั้นตอนกํอน

                   การมีสถานะเป็นนายจ๎างและลูกจ๎างตามสัญญาจ๎างแรงงาน เชํน การกําหนดให๎ผู๎สมัครงานต๎องกรอกใบ
                   สมัครออนไลน์โดยระบุประวัติอาชญากรรม การกําหนดให๎ผู๎สมัครต๎องไปทําการตรวจสอบประวัติ
                   อาชญากรรมกํอนการเข๎าสูํกระบวนการคัดเลือกตํอไป การนําเหตุประวัติอาชญากรรมมาตัดสินใจไมํรับ
                   บุคคลเข๎าทํางาน เป็นต๎น


                           - พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 นิยามความหมายของ “การเลือก
                   ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมระหวํางเพศ” ไว๎ในมาตรา 3 วํา หมายถึง“การกระทําหรือไมํกระทําการใดอันเป็น

                   การแบํงแยก กีดกัน หรือจํากัดสิทธิประโยชน์ใดๆ ไมํวําทางตรงหรือทางอ๎อม โดยปราศจากความชอบธรรม


                   303
                      “ให๎ผู๎ประกอบกิจการดําเนินการให๎ลูกจ๎างรับเหมาคําแรงที่ทํางานในลักษณะเดียวกันกับลูกจ๎างตามสัญญาจ๎างโดยตรง
                   ได๎รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการที่เป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ”
                   304   “ให๎นายจ๎างปฏิบัติตํอลูกจ๎างชายและหญิงโดยเทําเทียมกันในการจ๎างงาน เว๎นแตํลักษณะหรือสภาพของงานไมํอาจ
                   ปฏิบัติเชํนนั้นได๎”
                   305  มาตรา 89 ประกาศกําหนดอัตราคําจ๎างขั้นต่ําหรืออัตราคําจ๎างตามมาตรฐานฝีมือตามมาตรา 88 ให๎ใช๎บังคับแกํนายจ๎าง
                   และลูกจ๎างทุกคนโดยไม่เลือกปฏิบัติ
   382   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392