Page 385 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 385

361


                           3.Report of an Inquiry into a complaint by Ms Tracy Gordon of discrimination
                                                                     299
                   in employment on the basis of criminal record  : กรณีนี้ G เข๎ารับการทดสอบประเมินการ
                   ทํางานเนื่องจากสมัครงานในตําแหนํงพนักงานสื่อสาร (Communication Offer) ของศูนย์บริการโทรศัพท์
                   ฉุกเฉิน (Emergency  Service  Telecommunications  หรือ ESTA)  G  อ๎างวําผํานการทดสอบเบื้องต๎น
                   และได๎กรอกใบสมัครซึ่งให๎ระบุข๎อมูลอันรวมถึงประวัติอาชญากรรมของตน โดยความผิดกรณีนี้เกิดขึ้นในปี
                   2001 (ขณะสมัครงานปี 2003) ซึ่ง G ถูกตรวจพบระดับแอลกอฮอล์ 0.123% ขณะขับรถ และถูกปรับเป็น

                   เงิน 500 เหรียญ รวมทั้งถูกพักใช๎ใบอนุญาตขับขี่เป็นเวลา 12 เดือน สําหรับกรณีนี้ G ให๎ข๎อมูลวํา พนักงาน
                   ที่เกี่ยวข๎องกับการรับสมัครแจ๎งวํา G ไมํมีคุณสมบัติเนื่องจากมีประวัติถูกลงโทษฐานดื่มแอลกอฮอล์และขับ
                   รถ และแนะนําให๎ G ยุติการสมัครงาน ผู๎ถูกร๎องอ๎างนโยบายของตํารวจวิคตอเรียที่จะไมํรับบุคคลผู๎มีประวัติ
                   อาชญากรรมเข๎าทํางาน (Vitoria Police‖s Exclusion Policy)


                           คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวํา ประวัติอาชญากรรมของ G เป็นปัจจัยเดียวที่ ESTA นํามาใช๎
                   ในการตัดสินใจไมํให๎ G  เข๎าสูํกระบวนการสมัครงานตํอไป โดยความผิดของ G  จัดอยูํในความหมาย

                   “ความผิดเกี่ยวกับการจราจรกรณีร๎ายแรง”  ดังที่นิยามไว๎ในนโยบายของสํานักงานตํารวจ จึงเห็นวําการ
                   นําเอาปัจจัยเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมของบุคคลในความผิดการจราจรมาประกอบการพิจารณาคัดเลือก
                   บุคคลเข๎าทํางานนั้นเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงประวัติอาชญากรรม


                            สําหรับประเด็นที่วํา การปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางดังกลําวนั้น เข๎าข๎อยกเว๎นเนื่องจากเป็น
                   “คุณสมบัติอันเป็นสาระสําคัญสําหรับงานนั้น” (Inherent Requirement Exception) หรือไมํ ซึ่งเห็นวํา
                   ต๎องพิจารณาไมํเพียงเฉพาะความสามารถทางกายภาพหรือทางจิตใจของบุคคลเทํานั้น แตํต๎องพิจารณาจาก

                   ปัจจัยแวดล๎อมเกี่ยวกับตําแหนํงนั้นๆด๎วย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวํา เงื่อนไขของการเป็น
                   คุณสมบัติสําคัญอันจําเป็นนั้นจะต๎องได๎สัดสํวนกับวัตถุประสงค์และจําเป็นเมื่อพิจารณาสภาพและลักษณะ
                   ของงานนั้น กรณีนี้ทางสํานักงานตํารวจอ๎างวํา บุคคลจะต๎องได๎ “มาตรฐานสูงสุดของบูรณภาพ (Highest

                   Standard  of  Integrity)  และมีคุณลักษณะตลอดจนชื่อเสียงที่ดี”  ซึ่งเป็นคุณสมบัติเชํนเดียวกับการเป็น
                   พนักงานตํารวจ แตํคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวํา การกําหนดเงื่อนไขคุณสมบัติดังกลําวมิได๎เป็น
                   คุณสมบัติที่สําคัญอันจําเป็นสําหรับตําแหนํงงานกรณีนี้คือพนักงานสื่อสาร ซึ่งมีลักษณะแตกตํางกันและไมํ
                   ควรอยูํภายใต๎มาตรฐานเดียวกับพนักงานตํารวจ ดังนั้น เมื่อพิจารณาลักษณะงานของตําแหนํงการสื่อสาร
                   เปรียบเทียบกับลักษณะงานของตํารวจแล๎ว คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวํา การกําหนดคุณสมบัติ

                   พนักงานสื่อสารในระดับเชํนเดียวกับพนักงานตํารวจเป็นการกําหนดคุณสมบัติของงานที่ไมํเหมาะสมและ
                   ไมํได๎สัดสํวน ดังนั้น การกําหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมสําหรับตําแหนํงการสื่อสารกรณีนี้จึง
                   ไมํเข๎าข๎อยกเว๎น เนื่องจากไมํใชํคุณสมบัติอันจําเป็นและเป็นสาระสําคัญของงาน








                   299  Report of an Inquiry into a complaint by Ms Tracy Gordon of discrimination in employment on the
                   basis of criminal record, HREOC Report No. 33, 2006
   380   381   382   383   384   385   386   387   388   389   390