Page 384 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 384
360
ประวัติอาชญากรรม แตํเป็นไปด๎วยเหตุผลอื่น กลําวคือ “โดยลักษณะและสถานการณ์ของความผิดของ C
ซึ่งกระทําผิดเมื่ออายุ 16 ปีโดยตัดสินใจด๎วยตัวเองปราศจากการกดดันใดๆ และ C ลักทรัพย์ขวด
แอลกอฮอล์สองใบจากร๎านขายขวด C อยูํอาศัยกับเพื่อนที่มีพฤติกรรมลักทรัพย์ด๎วยจนทําให๎ตํารวจซึ่งไปค๎น
บ๎านเพื่อนของเธอสามารถจับ C ด๎วย พฤติกรรมดังกลําวไมํสอดคล๎องกับเงื่อนไขคุณสมบัติของการทํางาน
ของผู๎ร๎องที่ต๎องการความเชื่อใจและคุณลักษณะที่ดี” ดังนั้น ผู๎ถูกร๎องจึงอ๎างข๎อยกเว๎น “คุณสมบัติอันเป็น
สาระสําคัญสําหรับงานนั้น” (Inherent Requirement Exception)
ในประเด็นการตีความ ประวัติอาชญากรรมนั้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวําคําดังกลําวมิได๎
มีการนิยามไว๎ในกฎหมาย หรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข๎อง และไมํมีการจําแนกความแตกตํางระหวําง โทษที่
ได๎รับจริงหรือไมํได๎รับจริง ผู๎ถูกร๎องอ๎างวํา “ประวัติอาชญากรรม” ควรจํากัดเฉพาะประวัติเกี่ยวกับการ
ตัดสินโทษจริงเทํานั้น (Actual Record of Conviction) ไมํรวมถึง สถานการณ์ที่เกี่ยวข๎อง ทั้งนี้เพราะผู๎ถูก
ร๎องอ๎างวํา กรณีนี้มิใชํการตัดสินใจด๎วยสาเหตุแหํง ประวัติอาชญากรรม แตํเกี่ยวข๎องกับ สถานการณ์
แวดล๎อมเกี่ยวกับความผิดที่ C ทําขึ้น กลําวคือ การไมํรับ C เข๎าทํางานนั้นเนื่องมาจากสถานการณ์แวดล๎อม
มิใชํเพราะการมีประวัติอาชญากรรมนั้นเอง
คณะกรรมการฯ ไมํเห็นด๎วยกับผู๎ถูกร๎อง โดยนําแนวทางการตีความอยํางกว๎าง (Liberal
Construction) มาประกอบการตีความโดยเห็นวํา ประวัติอาชญากรรมไมํจํากัดเฉพาะประวัติเกี่ยวกับการ
ตัดสินโทษจริงเทํานั้น (Actual Record of Conviction) แตํรวมถึงสถานการณ์เกี่ยวกับการตัดสินโทษ
(Circumstance of the Conviction) และพฤติกรรมที่เกี่ยวข๎อง (Underlying Conduct) คณะ
กรรมการฯ ให๎เหตุผลวําหากตีความโดยจํากัดเชํนนั้นจะทําให๎เกิดการสร๎างภาพเหมารวม (Stereotype)
ในทางลบอันเกี่ยวกับการประเมินคุณสมบัติของผู๎ร๎องและสํงผลกระทบตํอหลักความเสมอภาคและไมํเลือก
298
ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวํา หากจําแนกความแตกตํางระหวําง ตัวประวัติ
อาชญากรรม และ สถานการณ์แวดล๎อมที่ความผิดนั้นได๎กระทําขึ้น จะทําให๎ผู๎ถูกร๎องสามารถเลี่ยงการ
ปฏิบัติตามหลักห๎ามเลือกปฏิบัติแหํงกฎหมายนี้โดยเพียงแตํอ๎างวําการเลือกปฏิบัตินั้นทําขึ้นบนพื้นฐานของ
สภาพการณ์แวดล๎อมของการกระทําผิด มิใชํเพราะประวัติอาชญากรรมนั้นเอง คณะกรรมการจึงเห็นวํา การ
ปฏิบัติแตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงสถานการณ์แวดล๎อมเกี่ยวกับความผิดที่บุคคลนั้นกระทําขึ้น เป็นการปฏิบัติ
แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํง ประวัติอาชญากรรมตามความหมายของกฎหมายคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
กรณีนี้ C จึงถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงประวัติอาชญากรรม
298
อ๎างเหตุผลจากคําพิพากษาคดี Commonwealth v. Bradley per Black CJ (Bradley's case)