Page 382 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 382
358
มาตรการ หรือการปฏิบัติที่เป็นกลางกลําวคือใช๎กับบุคคลทุกคนเหมือนกัน แตํสํงผลกระทบให๎บุคคลบางคน
295
เกิดความเสียเปรียบอยํางไมํได๎สัดสํวน ดังเชํนกรณีประวัติอาชญากรรม
อยํางไรก็ตาม กฎหมายมิได๎กําหนดนิยามความหมายของ “ประวัติอาชญากรรม” (Criminal
Record) ไว๎โดยเฉพาะ แตํมีการตีความอยํางกว๎างไมํเฉพาะประวัติที่อยูํในความควบคุมของเจ๎าหน๎าที่ตํารวจ
แตํรวมถึงสถานการณ์แวดล๎อมของการถูกตัดสินโทษด๎วย (Circumstance of the Conviction) ดังนั้นจึง
ครอบคลุม การตั้งข๎อหา การสืบสวน การถูกตัดสินวํามีความผิดและได๎รับโทษ การถูกตัดสินวํามีความผิดแตํ
ได๎รับการยกเว๎นโทษ แม๎แตํกรณีที่บุคคลนั้นมิได๎มีประวัติอาชญากรรมจริงๆแตํถูกนายจ๎างเลือกปฏิบัติเพราะ
นายจ๎างเชื่อวําบุคคลนั้นมีประวัติอาชญากรรม (Imputed Criminal Record) สําหรับระดับมลรัฐนั้น แตํละ
มลรัฐยังอาจมีกฎหมายกําหนดรายละเอียดของประวัติอาชญากรในความหมายที่แตกตํางกันไป
การห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมตามกฎหมายระดับรัฐบาลกลางของออสเตรเลีย
ฉบับนี้มีขอบเขตใช๎กับนายจ๎างและลูกจ๎างในทุกมลรัฐ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งนายจ๎างในองค์กร
ธุรกิจขนาดเล็ก สําหรับลูกจ๎างที่อยูํในขอบเขตการคุ๎มครองนั้น ครอบคลุมลูกจ๎างประจํา ลูกจ๎างชั่วคราว
รวมทั้งบุคคลที่ฝึกงานด๎วย อยํางไรก็ตามมีข๎อสังเกตวําการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรมนี้ จํากัด
เฉพาะในมิติของการจ๎างแรงงานเทํานั้น นอกจากนี้กฎหมายมิได๎คุ๎มครองบุคคลจากการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุ
ประวัติอาชญากรรมที่จัดเก็บโดยองค์กรอื่น เชํน สมาคม สําหรับขอบเขตของ การจ๎างแรงงานและอาชีพ
(Employment and Occupation) มีความหมายกว๎าง รวมถึง “การเข๎าถึงการฝึกงาน การทํางาน และ
การเข๎าสูํอาชีพใดอาชีพหนึ่ง และเงื่อนไขการจ๎างงาน” ดังนั้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนมีอํานาจ
พิจารณาคําร๎องเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติในกรณีประวัติอาชญากรรม ในมิติตํางๆ เชํน การสรรหา
(Recruitment) การฝึกงาน การเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนํง เงื่อนไขการทํางาน การเลิกจ๎าง การลงทะเบียน
ใบอนุญาตตํางๆที่เกี่ยวกับการทํางานหรือการประกอบอาชีพ
กฎหมายนี้กําหนดข๎อยกเว๎นทั่วไปสําหรับการเลือกปฏิบัติในการจ๎างแรงงาน เรียกวํา ข๎อยกเว๎น
เกี่ยวกับการกําหนด “คุณสมบัติอันเป็นสาระสําคัญสําหรับงานนั้น” (Inherent Requirement
Exception) ในกรณีของประวัติอาชญากรรมนั้น หากผู๎สมัครหรือลูกจ๎างมีประวัติอาชญากรรมแล๎วจะสํงผล
ให๎ไมํสามารถปฏิบัติให๎เป็นไปตามเงื่อนไขอันเป็นสาระสําคัญและจําเป็นของงานนั้นๆ ดังนี้นายจ๎างสามารถ
นําปัจจัยเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมมาปฏิบัติตํอลูกจ๎างให๎แตกตํางไปได๎โดยไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ
ข๎อยกเว๎นนี้ปรากฏในกฎหมายระดับมลรัฐด๎วยโดยอาจใช๎คําแตกตํางกันไป เชํน กฎหมายของ Tasmania
และ Northern Territory ใช๎คําวํา “ประวัติอาชญากรรมที่ไมํเกี่ยวข๎อง (Irrelevant Criminal Record)
295 International Labour Conference, Equality in Employment and Occupation: General Survey by the
Committee of Experts on the Application of Conventions and Recommendations ILO, Geneva, 1988