Page 380 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 380
356
โดยจะต๎องพิจารณาวํา ประวัติอาชญากรรม (การถูกตัดสินโทษ (Conviction) นั้นมีความสัมพันธ์โดยสุจริต
กับอาชีพหรือการจ๎างแรงงานนั้นหรือไมํ (Bona Fide Relationship to the occupation or
employment) ซึ่งมีปัจจัยพิจารณาหลายประการ เชํน (1) หากอุปนิสัยซึ่งเกี่ยวข๎องกับการถูกตัดสินโทษ
นั้นเกิดขึ้นซ้ําอีก อาจสํงผลกระทบตํอความสามารถของนายจ๎างในการประกอบการอยํางปลอดภัยและมี
ประสิทธิภาพ (Employer‖s ability to carry on its business safely and efficiently) (2) สถานการณ์
แวดล๎อมของความผิดนั้น เชํน อายุขณะกระทําผิด (3) ระยะเวลาของการตัดสินโทษกับการตัดสินใจที่
เกี่ยวกับการจ๎างแรงงาน
นอกจากนี้ ยังจําแนกความแตกตํางระหวําง “การถูกตั้งข๎อหา” (Criminal charge) กับ การถูก
ตัดสินโทษ (Conviction) โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ยอมรับหลักวําบุคคลมีสิทธิพื้นฐานที่จะได๎รับ
การสันนิษฐานวําบริสุทธิ์จนกวําจะถูกตัดสินโทษตามกฎหมาย อยํางไรก็ตามการนําเหตุเกี่ยวกับการตั้ง
ข๎อหาความผิดอาญามาใช๎ตัดสินใจเกี่ยวกับการจ๎างแรงงานอาจทําได๎เมื่อพิสูจน์ถึงความเสี่ยงตํอผู๎รํวมงาน
หรือการประกอบการของนายจ๎าง โดยความเสี่ยงนี้จะต๎องมีความรุนแรง กลําวคือ นายจ๎างจะต๎องมีระดับ
การพิสูจน์ความเสี่ยงที่สูงกวํากรณีการถูกตัดสินโทษ
กลุ่มที่สาม บางมลรัฐมิได๎กําหนดให๎ ประวัติอาชญากรรม เป็นเหตุแหํงการเลือกปฎิบัติโดยเฉพาะ
นอกจากนี้ตามแนวทางการตีความและบังคับใช๎กฎหมายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนก็ยังไมํมีความ
286
ชัดเจนเกี่ยวกับเหตุดังกลําว เชํน กฎหมายสิทธิมนุษยชนมลรัฐ Saskatchewan มิได๎ระบุเหตุ “ประวัติ
อาชญากรรม” ไว๎เป็นเหตุแหํงการเลือกปฎิบัติที่ต๎องห๎ามตามกฎหมายโดยเฉพาะ แตํมีการกําหนดข๎อยกเว๎น
ไว๎วํา การปฎิบัติที่แตกตํางกันในกรณีการจ๎างแรงงานอันเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฎิบัติตํางๆ เชํน
เพศ อาจทําได๎โดยไมํถือเป็นการเลือกปฎิบัติหาก เป็นกรณีเกี่ยวกับคุณสมบัติอันสมเหตุผลของอาชีพนั้นๆ
(Reasonable Occupational Qualification)
(3) กฎหมายออสเตรเลีย
287
ตามกฎหมายคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนออสเตรเลีย ซึ่งเป็นกฎหมายระดับรัฐบาลกลางของ
ออสเตรเลีย ให๎อํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนออสเตรเลีย พิจารณาคําร๎องเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติใน
286 Human Rights Code, SS 1979
287
Australian Human Rights Commission Act 1986 (Cth) (AHRC Act)