Page 378 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 378

354


                           กฎหมายแคนาดาที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฎิบัติด๎วยเหตุประวัติอาชญากรรม สามารถจําแนก
                   พิจารณาในระดับรัฐบาลกลางและระดับมลรัฐ ดังนี้


                           กฎหมายระดับรัฐบาลกลาง : กฎหมายสิทธิมนุษยชนสหพันธรัฐ (Federal Human Rights Act)
                   วางหลักวํา “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายประกอบด๎วย เชื้อชาติ สัญชาติ .....และ การตัดสินโทษ

                   ทางอาญา  (Conviction  for  an  offence)  ซึ่งได๎รับการพิจารณาให๎ระงับประวัติอาชญากรรม
                               279
                   (suspension)  จะเห็นได๎วํา กฎหมายกําหนดเหตุประวัติอาชญากรรมไว๎ในฐานะเป็น “เหตุแหํงการเลือก
                   ปฏิบัติ” (Prohibited ground of discrimination) ประการหนึ่งโดยเฉพาะอยํางชัดเจน เชํนเดียวกับเหตุ
                   อื่นๆ เชํน เพศ เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ


                           กฎหมายระดับมลรัฐ :  กฎหมายสิทธิมนุษยชนระดับมลรัฐในแคนาดานั้นวางหลักเกี่ยวกับประวัติ
                   อาชญากรรมแตกตํางกันไป ซึ่งผู๎เขียนจําแนกเป็นสามกลุํม ดังนี้


                           กลุ่มแรก ก าหนดให้ “ประวัติอาชญากรรม” เป็นเหตุแห่งการเลือกปฎิบัติประการหนึ่งโดยเฉพาะ
                   เชํน


                                                                                    280
                           กฎหมายสิทธิมนุษยชนของมลรัฐ British  Columbia  วางหลักไว๎วํา  บุคคลจะต๎อง (ก)  ไมํถูก
                   ปฏิเสธการจ๎างงานหรือปฏิเสธในการทํางานตํอไป หรือ (ข) เลือกปฎิบัติเกี่ยวกับการจ๎างแรงงานหรือเงื่อนไข

                   ของการจ๎างแรงงานด๎วยเหตุแหํง เชื้อชาติ สีผิว ....หรือ เพราะบุคคลนั้นถูกตัดสินวํามีความผิดอาญา ซึ่งไมํ
                   เกี่ยวข๎องกับการจ๎างแรงงานหรือการจ๎างแรงงานที่มุํงกระทํา (convicted of a criminal offence that is
                   unrelated to the employment or to the Intended employment of that person)


                                                               281
                           กฎหมายสิทธิมนุษยชนของมลรัฐ Quebec   วางหลักวํา “บุคคลจะต๎องไมํถูกเลิกจ๎าง หรือ
                   ปฏิเสธการจ๎างงาน หรือตัดสินลงโทษที่เกี่ยวกับการจ๎างงาน ด๎วยเหตุเพียงเพราะบุคคลนั้นถูกตัดสินวํามี

                   ความผิดทางอาญา (Convicted  of  a  penal  or  criminal  offence)  ทั้งนี้หากความผิดนั้นไมํมีความ
                   เกี่ยวข๎องกับการจ๎างแรงงาน….”





                   279
                      Human Rights Act, RSC 1985 Section 3 (1) : ผู๎วิจัยมีข๎อสังเกตวํา กฎหมายสิทธิมนุษยชนใช๎คําวํา “pardon or
                   suspension” แตํทั้งนี้ต๎องพิจารณาเชื่อมโยงกับกฎหมายเฉพาะอีกฉบับหนึ่งคือ กฎหมายประวัติอาชญากรรม (The
                   Criminal Records Act) โดยกฎหมายนี้วางหลักวําผู๎มีประวัติอาชญากรรมที่ผํานการพิจารณาให๎ระงับประวัติอาชญากรรม
                   (Criminal record suspension) จะได๎รับการนําประวัติแยกออกมาจากการสืบค๎นและจะไมํถูกเปิดเผยตํอบุคคลใดเว๎นแตํ
                   จะมีคําสั่งจากรัฐมนตรี ดังนั้น “suspension” ในกรณีนี้คือการระงับประวัติอาชญากรรมมิใชํการระงับหรือการพัก “การ
                   ลงโทษ” กฎหมายลักษณะนี้เทียบได๎กับกฎหมายบางมลรัฐในออสเตรเลียที่ผู๎มีประวัติได๎รับโทษอาญาสามารถได๎รับการ
                   พิจารณาให๎ประวัตินั้นไมํปรากฏในระบบหรือที่เรียกวํา “Spent conviction” เชํน กฎหมายมลรัฐ Western Australia
                   (Spent Convictions Act 1988)
                   280  Human Rights Code, RSBC 1996, Section 13
                   281
                      Charter of human rights and freedoms, RSQ, c C-12, Section 18.2
   373   374   375   376   377   378   379   380   381   382   383