Page 377 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 377

353


                   ตํอลูกจ๎าง ดังนั้นจึงมีการตีความอยํางแคบ เชํน การที่นายจ๎างปฎิบัติเป็นพิเศษตํอบุคคลด๎วยเหตุศาสนานั้น
                                                                                      275
                   ยังไมํมีเพียงพอแสดงวําเหตุดังกลําวเป็นคุณสมบัติอันเกี่ยวข๎องกับงานนั้นโดยสุจริต

                           นอกจากนี้ คณะกรรมการความเทําเทียมกันในการจ๎างงาน (Equal Employment Opportunity
                   Commission หรือ EEOC) ซึ่งเป็นองค์กรระดับรัฐบาลกลางและมีอํานาจบังคับใช๎กฎหมายสิทธิพลเมืองโดย

                   สามารถไตํสวนคําร๎องที่อ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้ คณะกรรมการ EEOC
                   ได๎กําหนดแนวทางการบังคับใช๎กฎหมาย (Enforcement  Guidance)  สําหรับในสํวนที่เกี่ยวกับประวัติ
                                       276
                   อาชญากรรม สรุปได๎วํา  ในกรณีที่นโยบายการจ๎างงานที่สํงผลให๎เกิดการเลือกปฎิบัติด๎วยเหตุแหํงการ
                   เลือกปฎิบัติตามกฎหมายสิทธิพลเมือง (เชื้อชาติ สีผิว ศาสนา เพศ หรือถิ่นก าเนิด) นายจ๎างจําต๎องแสดงให๎

                   เห็นวํานโยบายนั้นมีความเชื่อมโยงระหวํางอาชญากรรม อันตรายของอาชญากรรมดังกลําว กับความเสี่ยง
                   ตํอการปฎิบัติหน๎าที่ในตําแหนํงงานนั้น หลักการนี้อาจเรียกได๎วําเป็นการพิจารณาความเกี่ยวข๎องกับงาน
                   และสอดคล๎องกับความจําเป็นทางธุรกิจ (Job  related  and  consistent  with  business  necessity)
                   นอกจากนี้ยังได๎วางแนวทางเกี่ยวกับการคัดเลือกบุคคลโดยเฉพาะเจาะจง (Target screen) ซึ่งมีที่มาจากคํา
                                                                     277
                   พิพากษาศาลในคดี Green v. Missouri Pacific Railroad   โดยกําหนดองค์ประกอบหรือปัจจัยสําหรับ
                   การพิจารณาในการใช๎ประวัติอาชญากรรมให๎ไมํเป็นการเลือกปฎิบัติ องค์ประกอบดังกลําวคือ ลักษณะของ
                   ความผิดนั้น เวลาที่ผํานมาหลังจากความผิดนั้นเกิดขึ้นหรือหลังจากที่ได๎รับโทษแล๎ว และลักษณะสภาพของ
                   งานนั้นๆ  ดังนั้นการที่นายจ๎างจะใช๎ประวัติอาชญากรรมเป็นเหตุผลของการไมํรับบุคคลเข๎าทํางานก็จะต๎อง
                                                                      278
                   แสดงให๎เห็นถึงความจําเป็นทางธุรกิจ (Business necessity)  นอกจากนี้ EEOC ยังกําหนดแนวทางการ
                   บังคับใช๎กฎหมาย ซึ่งกําหนดให๎กิจการตํางๆ จัดให๎มีกระบวนการที่แสดงวํากิจการนั้นจะไมํใช๎ประวัติ
                   อาชญากรรมเพื่อเลือกปฎิบัติตํอบุคคลด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว ถิ่นกําเนิด รวมทั้งกําหนดแนวปฎิบัติที่ดี

                   (Best Practice) ให๎นายจ๎างนําคําถามเกี่ยวกับ “ประวัติอาชญากรรม” ออกจากใบสมัครงานด๎วย ผู๎วิจัยมี
                   ข๎อสังเกตวํา เหตุแหํงประวัติอาชญากรรมมิได๎เป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติด๎วยตัวเอง แตํต๎องมีความ
                   เกี่ยวพันกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติอื่นที่กฎหมายนี้ระบุไว๎










                           (2) กฎหมายแคนาดา


                   275
                      Equal Employment Opportunity Commission v. Kamehameha School — Bishop Estate, 990 F.2d 458
                   (9th Cir. 1993)
                   276  EEOC Enforcement Guidance. U.S. Equal Employment Opportunity Commission. 25 April 2010
                   277  Green v. Missouri Pacific Railroad, 549 F.2d 1158 (8th Cir. 1975)
                   278  Sharon Dietrich, Maurice Emsellem, Catherine Ruckelshaus, “Work Reform: The Other Side of
                   Welfare Reform,” Stanley L. & Policy Review 9 (1998): 53, 56.
   372   373   374   375   376   377   378   379   380   381   382