Page 375 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 375
351
เจ็บปุวย ทุพพลภาพ ต๎องจํายแล๎วไมํน๎อยกวํา 3 เดือน และกรณีคลอดบุตรต๎องจํายแล๎วไมํน๎อยกวํา 7
271
เดือน
7. ผู๎อยูํในขํายรับบริการมากกวํา 1 ระบบ ซึ่งโดยใช๎สิทธิหลักของตนกํอน แล๎วจึงใช๎สิทธิในฐานะผู๎
อาศัยสิทธิเพิ่มเติมในสํวนที่เบิกจํายไมํได๎ ทางปฏิบัติพบวํา ทั้งผู๎ปุวยและโรงพยาบาลไมํทราบข๎อมูลดังกลําว
ทําให๎ผู๎ปุวยต๎องรับผิดชอบคําใช๎จํายสํวนนี้เอง หรือออกจากการรักษาพยาบาลกลางคัน เชํนเดียวกัน
ผู๎ประกันตนตามระบบประกันสังคมในฐานะผู๎มีสํวนได๎สํวนเสีย พึงได๎รับข๎อมูลขําวสารการบริหารงานฐานะ
การเงิน หรืออื่นใดของกองทุนประกันสังคมทางปฏิบัติพบวํา ผู๎ประกันตน รวมถึงผู๎ประกันตนที่เป็นแรงงาน
ข๎ามชาติกลับเข๎าไมํถึงข๎อมูลขําวสารดังกลําว
8. กลุํมผู๎ด๎อยโอกาสทางสังคม ได๎แกํผู๎ไมํมีสัญชาติไทย และไมํได๎รับการผํอนผันภายใต๎มติ
คณะรัฐมนตรีวําด๎วยการให๎สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด๎านสาธารณสุขแกํบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
แรงงานนอกระบบ/แรงงานข๎ามชาติที่ไมํสามารถพิสูจน์สัญชาติ (งานภาคเกษตรกรรม ภาคประมง และงาน
บ๎าน) และเด็กเรํรํอนหรือผ้ําร๎ที่พักพิงซึ่งมักรักษาตัวเอง เนื่องจากชํองวํางทางกฎหมาย อุปสรรคด๎านภาษา
ไมํมีหรือเข๎าไมํถึงเครื่องมือสื่อสาร อคติของผู๎ใช๎บริการและบรรยากาศไมํเป็นมิตรของสถานพยาบาลเป็นต๎น
4.10 การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม”
ประวัติอาชญากรรม (Criminal Record) เป็นข๎อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข๎องกับพฤติกรรม
ตํางๆ ซึ่งกระทบสิทธิของเจ๎าของข๎อมูลนั้น เชํน การนําไปใช๎นําไปเผยแพรํในทางที่ทําให๎บุคคลนั้นเสื่อมเสีย
ชื่อเสียง การนําไปใช๎ประกอบการตัดสินใจเรื่องตํางๆ อันเกี่ยวข๎องกับความสัมพันธ์ของบุคคลนั้นกับบุคคล
หรือองค์กรอื่นในสังคม สําหรับในหัวข๎อนี้จะมีขอบเขตศึกษาปัญหาของการนําข๎อมูลดังกลําวมาเป็นปัจจัย
ในการตัดสินใจเกี่ยวกับผู๎มีประวัติอาชญากรรมในบริบทการทํางาน ซึ่งอาจประกอบด๎วยพฤติกรรมยํอย
หลายประการทั้งในชํวงกํอนการเกิดความสัมพันธ์ตามสัญญาจ๎างแรงงาน เชํน การกําหนดให๎ประวัติ
อาชญากรรมเป็นคุณสมบัติต๎องห๎ามสําหรับผู๎สมัครงาน การใช๎คําถามเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมใน
กระบวนการคัดเลือก เชํน การสัมภาษณ์หรือในใบสมัครงาน สําหรับชํวงหลังการเกิดความสัมพันธ์ตาม
สัญญาจ๎างแรงงานแล๎ว ก็มีการการนําเหตุประวัติอาชญากรรมมาประกอบการพิจารณาตัดสินใจในเงื่อนไข
ตํางๆ เชํน การเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหนํง การเลิกจ๎าง เป็นต๎น เมื่อพิจารณาในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชน
จะเห็นได๎วํา บุคคลที่มีประวัติอาชญากรรมได๎รับการปฏิบัติที่แตกตํางจากบุคคลอื่นเพียงเพราะเหตุที่ตนมี
ประวัติอาชญากรรม จึงนําไปสูํประเด็นคําถามวํา บุคคลที่ได๎รับการปฏิบัติแตกตํางจากบุคคลอื่นด๎วยเหตุนี้
จะได๎รับการคุ๎มครองตามหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติหรือไมํ อยํางไร โดยทั่วไป
271
พระราชบัญญัติประกันสังคมฯมาตรา 62 ,65 และ 69