Page 363 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 363

339


                           จะเห็นได๎วํา ภายใต๎หลัก Margin  of  Appreciation  นั้นศาลได๎จําแนกความแตกตํางระหวําง
                   บทบาทของศาลในฐานะกลไกตามกฎหมายระหวํางประเทศในการตรวจสอบการดําเนินการของรัฐให๎

                   สอดคล๎องกับพันธกรณีตามสนธิสัญญา กับ บทบาทขององค์กรตามกฎหมายภายในของรัฐในการใช๎ดุลพินิจ
                   (Discretion)  ดังนั้น ในประเด็นที่เกี่ยวข๎องกับการใช๎ดุลพินิจของรัฐ เชํน ระดับศีลธรรมอันดี ความจําเป็น
                   เหตุฉุกเฉิน นั้นอยูํในขอบอํานาจ (Margin) ของรัฐภาคีที่สามารถพิจารณาตามความเหมาะสมและไมํขัดตํอ
                   พันธกรณีระหวํางประเทศ


                           สําหรับคดีที่ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปนําหลักการ Margin  of  appreciation  มาปรับใช๎ ในบริบท
                                                                 257
                   ของการพิจารณาคดีที่มีประเด็นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ  เชํน

                                                       258
                           - คดี Sommerfeld v. Germany  ข๎อเท็จจริงในคดีนี้มีอยูํวํา ผู๎ร๎องเป็นบิดาของบุตรซึ่งเป็นบุตร
                   นอกสมรส ผู๎ร๎องอยูํกับมารดาของเด็กจนกระทั่งแยกทางกัน มารดาของเด็กซึ่งสมรสกับชายอีกคนหนึ่ง ได๎

                   ห๎ามมิให๎ผู๎ร๎องพบกับบุตร ผู๎ร๎องจึงไปฟูองคดีตํอศาลเยอรมันเพื่อขอให๎รับรองสิทธิในการพบและติดตํอกับ
                   บุตร ศาลเยอรมันพิจารณาแล๎วปฏิเสธโดยเหตุสําคัญแหํงการปฏิเสธคือการที่ศาลฟังพยานหลักฐานจาก
                   คําให๎การของเด็กวําไมํต๎องการพบกับผู๎ร๎องอีก


                           ผู๎ร๎องจึงนําคดีขึ้นศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปอ๎างวําการที่ศาลเยอรมันตัดสินเชํนนั้นเป็นการลํวงละเมิด
                   ตํอสิทธิที่ได๎รับการรับรองตามอนุสัญญายุโรปวําด๎วยสิทธิมนุษยชน กลําวคือ สิทธิในชิวิตครอบครัว (มาตรา

                   8) และ ยังเป็นการเลือกปฏิบัติที่ฝุาฝืนมาตรา 14

                           ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปพิจารณาแล๎วเห็นวํา กรณีนี้ศาลเยอรมันไมํได๎ละเมิดสิทธิในชีวิตครอบครัว

                   ตามมาตรา 8 เนื่องจากองค์กรของรัฐมีสิทธิที่จะสร๎างความสมดุลระหวํางประโยชน์ของเด็กกับผู๎ปกครอง
                   โดยในคดีนี้เห็นวําศาลเยอรมันได๎ใช๎เหตุผลที่เหมาะสมในการปฏิเสธมิให๎พบกับบุตร นั่นคือความประสงค์
                   อยํางชัดแจ๎งของบุตร รวมทั้งเหตุผลเกี่ยวกับความเสี่ยงของผลกระทบตํออารมณ์และสภาพจิตใจของเด็ก
                   หากมีการบังคับให๎เด็กต๎องกระทําการที่ฝืนใจ


                           สําหรับประเด็นการฝุาฝืนมาตรา 14 นั้น ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปเห็นวํา กรณีสิทธิของบิดาในการ
                   พบบุตร นั้น กฎหมายเยอรมันที่เกี่ยวข๎องได๎วางหลักเกณฑ์ที่แตกตํางกัน ระหวํางบิดาที่สมรสกับมารดาของ
                   เด็กและหยําร๎าง กับ บิดาที่ไมํได๎สมรสกับมารดาของเด็ก กลําวคือ บิดาที่สมรสและหยําร๎างมีสิทธิพบและ

                   ติดตํอเด็กซึ่งอาจถูกจํากัดในกรณีจําเป็นเพื่อประโยชน์ของเด็ก แตํบิดาที่ไมํได๎สมรสกับมารดาของเด็กนั้น จะ
                   มิสิทธิพบและติดตํอเด็กได๎ตํอเมื่อแมํของเด็กตกลงยินยอมหรือได๎รับอนุญาตจากศาลวําการพบเด็กจะเป็น
                   ประโยชน์แกํเด็ก ดังนี้ ศาลให๎น้ําหนักกับการตัดสินใจของแมํเด็กและกําหนดภาระพิเศษสําหรับบิดาในการ








                   257  Article 14 , European Convention on Human Rights
                   258
                      Sommerfeld v. Germany, (Application No. 31871/96, 2003)
   358   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368