Page 360 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 360

336


                            ตัวอยํางของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกตามกฎหมายเฉพาะอื่น เชํน พระราชบัญญัติการปูองกัน

                   และแก๎ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุํน พ.ศ. 2559  ซึ่งอาจพิจารณาได๎วําเป็นกฎหมายที่กําหนดมาตรการ
                   ยืนยันสิทธิเชิงบวก สําหรับ “วัยรุํนที่ตั้งครรภ์” (บุคคลอายุเกินสิบปีบริบูรณ์ แตํยังไมํถึงยี่สิบปีบริบูรณ์) โดย

                   กําหนดให๎มีมาตรการสํงเสริมสนับสนุนตํางๆ เชํน ฝึกอาชีพแกํวันรุํนที่ตั้งครรภ์ ประสานงานจัดหางาน
                                                                                                     250
                   จัดหาครอบครัวทดแทนกรณีที่วัยรุํนไมํสามารถเลี้ยงดูบุตรด๎วยตนเองได๎ จัดสวัสดีการสังคมด๎านอื่นๆ


                           - สําหรับในมิติของการจ๎างแรงงานนั้น มีคดีซึ่งมีประเด็นโต๎แย๎งวํา พระราชบัญญัติคุ๎มครองแรงงาน
                   พ.ศ. 2541 มาตรา 120 มีหลักการที่เลือกปฏิบัติโดยให๎สิทธิเฉพาะลูกจ๎างฝุายเดียวที่มีสิทธิยื่นคําขอให๎
                   คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาวินิจฉัย และให๎สิทธิแกํคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานเลือก
                   ปฏิบัติโดยอาศัยความแตกตํางในสถานะของนายจ๎างและลูกจ๎างโดย ไมํให๎สิทธิใดๆ แกํฝุายนายจ๎างและ

                   ไมํได๎รับความเสมอกันในบทบัญญัติของกฎหมายเทํากับฝุายลูกจ๎าง แตํศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา
                   กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองลูกจ้างผู้มีฐานะที่ด้อยทางเศรษฐกิจ... อีกทั้ง
                   ยังเป็นการส่งเสริมให้ลูกจ้างสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพเช่นเดียวกับนายจ้าง ยํอมไมํถือเป็นการเลือก
                   ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม จึงไมํขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญมาตรา 29 และ 30 (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่

                   33/2548) จะเห็นได๎วํา หลักการหลายอยํางตามกฎหมายคุ๎มครองแรงงานมีลักษณะปฏิบัติตํอลูกจ๎างในเชิง
                   ให๎สิทธิพิเศษ (Privilege) ซึ่งอาจมองได๎วําเป็นการปฏิบัติตํอลูกจ๎างและนายจ๎างแตกตํางกัน ด๎วยเหตุสถานะ
                   ของบุคคลอันเป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ แตํในอีกแงํหนึ่งจะเห็นได๎วํา หลักการตํางๆ ตามกฎหมาย
                   คุ๎มครองแรงงานมีลักษณะเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกเพื่อคุ๎มครองฝุายลูกจ๎างที่กฎหมายเห็นวําอยูํใน

                   สถานะที่เสียเปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับฝุายนายจ๎าง

                           - ส าหรับกรณีประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง จะเห็นได๎วํา การที่กฎหมายให๎สิทธิคูํความ

                                                251
                   ขอดําเนินคดีอยํางคนอนาถาได๎นั้น  เป็นกฎหมายที่สํงผลให๎เกิดการปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุ
                   แหํง “สถานะทางเศรษฐกิจ”  แตํทั้งนี้ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติเนื่องจากอาจพิจารณาได๎วําเป็นกฎหมายที่มี
                   ลักษณะเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกเพื่อสํงเสริมให๎บุคคลที่เสียเปรียบด๎วยเหตุฐานะทางเศรษฐกิจได๎มี

                   โอกาสเข๎าถึงการดําเนินคดีอยํางเทําเทียมกันกับคูํความอื่นๆ








                           การกําหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ  ประกาศ มาตรการ โครงการ หรือวิธีปฏิบัติ ของหนํวยงานของรัฐ องค์กร
                   เอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม ระหวํางเพศจะกระทํามิได๎
                           การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง เพื่อขจัดอุปสรรคหรือสํงเสริมให๎บุคคลสามารถใช๎สิทธิและเสรีภาพ ได๎เชํนเดียวกับ
                   บุคคลอื่น หรือเพื่อคุ๎มครองสวัสดิภาพและความปลอดภัย  หรือการปฏิบัติตามหลักการ ทางศาสนา หรือเพื่อความมั่นคง
                   ของประเทศ ยํอมไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมระหวํางเพศ
                   250  พระราชบัญญัติการปูองกันและแก๎ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุํน พ.ศ. 2559 มาตรา 9
                   251
                      ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 156 และ 156/1
   355   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365