Page 362 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 362

338


                           หลักการ Margin of Appreciation ได๎เริ่มปรากฏจากกรณีความจําเป็นหรือเหตุฉุกเฉินสาธารณะ
                                                                  252
                   (Public Emergency) เชํนศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปเห็นวํา  การที่อังกฤษปฏิบัติแตกตํางจากพันธกรณีตาม
                   สนธิสัญญา (มาตรา 15 ของ ECHR) ได๎ในกรณีสถานการณ์ฉุกเฉิน

                           ศาลยังได๎ขยายขอบเขตหลักการนี้จากเหตุฉุกเฉิน (Emergency) โดยกําหนดปัจจัยในการพิจารณา

                   สองประการได๎แกํ มาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับอยํางเป็นเอกฉันท์ระหวํางรัฐภาคี และ หลักความได๎สัดสํวน
                   ตามสนธิสัญญาของยุโรป ซึ่งในการพิจารณาความได๎สัดสํวนนี้จะนําเอาปัจจัยเกี่ยวกับ ลักษณะโดย
                                                                                    253
                   ธรรมชาติของสิทธินั้น และ วัตถุประสงค์ของมาตรการที่พิพาท มาประกอบด๎วย  โดยศาลอธิบายวํา การที่
                   รัฐหลุดพ๎นจากความรับผิดชอบนั้นเป็นปัญหาที่ละเอียดอํอนที่จะต๎องพิจารณาหลายปัจจัยเพื่อการสร๎างการ
                                                                                          254
                   สมดุลระหวํางประโยชน์สาธารณะที่รัฐต๎องการปกปูองกับพันธกรณีตามสนธิสัญญา  นอกจากนั้น ศาล
                   อธิบายวําในการพิจารณามาตรการที่พิพาทนั้นจะต๎องคํานึงถึงลักษณะทั้งทางกฎหมายและข๎อเท็จจริงซึ่ง
                   เกี่ยวข๎องกับชีวิตและสังคมในรัฐนั้น แตํทั้งนี้ศาลซึ่งเป็นกลไกระหวํางประเทศไมํอาจมีบทบาทในลักษณะ
                                          255
                   เดียวกับองค์กรภายในรัฐนั้น

                                                              256
                           ในคดี Handyside v. United Kingdom  มีประเด็นเกี่ยวข๎องกับการจัดพิมพ์หนังสือเรียนซึ่งมี
                   เนื้อหาเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศอยํางชัดเจน หนังสือดังกลําวสามารถเผยแพรํในประเทศภาคีสนธิสัญญา

                   ECHR  หลายประเทศ อยํางไรก็ตามในอังกฤษมีปัญหาวําผู๎พิมพ์หนังสือดังกลําวถูกตัดสินวํามีความผิดตาม
                   กฎหมายภายในเกี่ยวกับสื่อลามก คดีนี้จึงมาสูํการพิจารณาศาลยุโรปวํารัฐบาลอังกฤษฝุาฝืนหลักเสรีภาพใน
                   การแสดงความคิดเห็น (Freedom  of  expression)  หรือไมํ โดยรัฐบาลอังกฤษอ๎างวํากฎหมายดังกลําว
                   เป็นไปเพื่อปกปูองศีลธรรมอันดีของประชาชน จะเห็นได๎วํากรณีนี้มีความขัดแย๎งกันระหวํางการปฏิบัติตาม

                   หลักการคุ๎มครองสิทธิมนุษยชนตามสนธิสัญญากับการคุ๎มครองประโยชน์ด๎านศีลธรรมอันดีที่รัฐมุํงประสงค์
                   ในคดีนี้ศาลนําหลัก Margin of Appreciation มาใช๎โดยตัดสินวําอังกฤษไมํละเมิดตํอสนธิสัญญา โดยศาล
                   ให๎เหตุผลวํา “เป็นไปได๎ยากที่กฎหมายภายในของรัฐภาคีจะมีลักษณะเป็นเอกภาพกันในแนวคิดด๎าน

                   ศีลธรรม แนวคิดและมุมมองดังกลําวแตกตํางกันไปตามกฎหมายภายใน ดังนั้นรัฐภาคีจึงอยูํในฐานะที่ดีกวํา
                   ศาลระดับระหวํางประเทศในการพิจารณาประเด็นเชิงเนื้อหา (Content)  ที่พิพาท รวมทั้งประเด็นความ
                   จําเป็น (Necessity)







                   252  P. van Dijk, et al., eds., Theory and Practice of the European Convention on Human Rights, 4
                                                                                                        th
                   ed. (Antwerpen: Intersentia, 2006), pp. 1055-1056.
                   253
                      Lawless v. Ireland, no. 332/57, ECHR 1961 A3 (N.B. verbatim record of the hearing on 8 April
                   254
                      Ibid
                   255  Case Relating to Certain Aspects of the Laws on the Use of Languages in Education in Belgium
                   ("Belgian Linguistic Case") (No. 2), no. 1474/62, 1677/62, 1691/62, 1769/63, 1994/63, 2126/64, §10, ECHR
                   1968 A6
                   256
                      Handyside v. United Kingdom, no. 5493/72, §48, ECHR 1976 A24
   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366   367