Page 364 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 364
340
259
พบและติดตํอบุตรนอกสมรสมากกวําบิดาที่สมรสและหยําร๎างกับมารดาของเด็ก กฎหมายของเยอรมัน
จึงเป็นการเลือกปฏิบัติระหวํางบิดานอกสมรสกับบิดาที่สมรสกับมารดาของเด็ก อยํางไรก็ตาม ศาลได๎
อธิบายวํา การเลือกปฏิบัติของกฎหมายดังกลําวอาจทําได๎หากมีเหตุผลที่มีน้ําหนักเพียงพอ (Very weighty
reasons) ซึ่งศาลไมํพบเหตุผลดังกลําวในคดีนี้
จะเห็นได๎วํา หลักการ “Margin of Appreciation” ถูกนํามาใช๎ในการตัดสินคดี กลําวคือ การที่
ศาลเยอรมัน ปฏิเสธสิทธิของบิดาในการพบเด็ก โดยหลักแล๎วเป็นการละเมิดสิทธิในครอบครัว แตํศาลสิทธิ
มนุษยชนยุโรปพิจารณาถึงเหตุผลของการปฏิเสธดังกลําวแล๎วเห็นวํามีเหตุอันสมควร ทําให๎ไมํเป็นการละเมิด
ตํอมาตรา 8 นอกจากนี้ ในการพิจารณาประเด็นมาตรา 14 จะเห็นได๎วํา กฎหมายมีการวางเกณฑ์ที่แตกตําง
กันสําหรับบิดาที่ไมํสมรสกับที่สมรสกับมารดาของเด็ก แตํกรณีนี้ศาลยังไมํเห็นถึงเหตุผลจําเป็นของความ
แตกตํางกัน กลําวคือ หากกฎหมายดังกลําวมีเหตุผลที่แสดงให๎เห็นวําเกณฑ์อันแตกตํางนั้นมีขึ้นเพื่อ
ประโยชน์ของเด็กอยํางไรแล๎ว ก็อาจเป็น “เหตุผลที่มีน้ําหนักเพียงพอ” (Very weighty reasons) อันทําให๎
เข๎าข๎อยกเว๎นตามหลัก “Margin of Appreciation” และไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ
ปัจจัยสําคัญที่ศาลนํามากําหนดขอบเขตแหํงการใช๎ดุลพินิจก็คือ “เหตุผลที่มีน้ําหนักเพียงพอ”
(Very weighty reasons) ซึ่งหากเป็นกรณีที่เกี่ยวกับมาตรการของรัฐอันมุํงใช๎กับกลยุทธ์ทางเศรษฐกิจหรือ
สังคมของประเทศ ศาลจะให๎ขอบเขตแหํงการใช๎ดุลพินิจที่กว๎าง นั่นคือกฎเกณฑ์หรือมาตรการของรัฐที่
พิพาทวําเป็นการเลือกปฏิบัตินั้นจะไมํขัดตํอกฎหมายสหภาพยุโรป
260
ในคดี Stec and Others v. UK ผู๎ยื่นคําร๎องได๎ทําการร๎องเรียนถึงผลของความแตกตํางของการ
เกษียณอายุระหวํางผู๎ชายและผู๎หญิง โดยแตํละสํวนมีข๎อเสียเปรียบของผลประโยชน์ที่แตกตํางซึ่งถูกกําหนด
ตามอายุเษียณ ECtHR พบวําโดยหลักของการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศอาจมีเหตุผลสมควรได๎ในกรณีที่
มี“เหตุผลที่มีน้ําหนักเพียงพอ” ทั้งนี้ศาลจะพิจารณาให๎รัฐมีขอบเขตการใช๎ดุลพินิจโดยกว๎างสําหรับ
มาตรการที่ใช๎ในทางเศรษฐกิจหรือกลยุทธ์ทางสังคม (a wide margin is usually allowed to the State
under the [ECHR] when it comes to general measures of economic or social strategy)
อยํางไรก็ตาม แม๎วําศาลจะยอมรับถึงการมีขอบเขตในการใช๎ดุลพินิจของรัฐ แตํสําหรับเหตุแหํงการ
เลือกปฏิบัติบางอยํางเชํน เชื้อชาติ แล๎ว ศาลให๎น้ําหนักกับการคุ๎มครองผู๎ถูกเลือกปฏิบัติ ดังจะเห็นได๎จาก ใน
261
คดี Andrejeva v. Latvia case ผู๎ยื่นคําร๎องเคยเป็นเมืองของสหภาพโซเวียตเกําแตํได๎รับสิทธิในการ
พํานักอยูํอยํางถาวรในประเทศลัตเวีย ตามกฎหมายภายใน ได๎จัดให๎ผู๎ยื่นคําร๎องเป็นผู๎ที่ทํางานอยูํนอก
ประเทศลัตเวียในชํวงกํอนการประกาศอิสรภาพ (แม๎วําจะทําตําแหนํงเดิมซึ่งอยูํภายในอาณาเขตลัตเวียกํอน
และหลังการเป็นอิสรภาพ) และในลําดับตํอมาการคํานวนเงินหลังเกษียณของผู๎ร๎องเป็นการคํานวนตาม
259 กฎหมายแพํงเยอรมัน (German Civil Code) มาตรา 1634 § 1 เกี่ยวกับผู๎ปกครองเด็กที่เกิดจากการสมรส regarding
(born in wedlock) และ มาตรา 1711 § 2 เกี่ยวกับพํอของเด็กที่เกิดนอกสมรส (born out of wedlock)
260 ECtHR, Stec and Others v. UK [GC] (Nos. 65731/01 and 65900/01), 12 April 2006
261
ECtHR, Andrejeva v. Latvia [GC] (No. 55707/00), 18 February 2009