Page 368 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 368

344


                   หลัก “ขอบเขตแหํงดุลพินิจ” (Margin of Appreciation) ซึ่งรัฐสามารถกําหนดกฎหมายภายในที่แตกตําง
                   จากพันธกรณีตามกฎหมายระหวํางประเทศ ได๎ภายใต๎เหตุผลความจําเป็นบางประการดังกลําวมาแล๎ว


                           ในระดับของภาคเอกชนนั้น แม๎หลักการขอบแหํงดุลพินิจดังที่กลําวมาข๎างต๎นอยูํในบริบทของ
                   กฎหมายระหวํางประเทศและการกระทําของรัฐก็ตาม แตํอาจนําหลักการนี้มาวิเคราะห์วําการปฏิบัติของ

                   ภาคเอกชนนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผลสมควรหรือไมํ ซึ่งหากมีเหตุผลสมควรรองรับ ก็จะทําให๎การ
                   ปฏิบัตินั้นเป็นเพียงการปฏิบัติที่แตกตํางกันโดยไมํเป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอกฎหมายภายใน เชํน กรณี
                   สถานที่บางแหํงปฏิเสธไมํให๎บริการแกํผู๎ติดเชื้อเอชไอวี  จะเห็นได๎วํา หากสถานที่ดังกลําวมีเหตุผลความ
                   จําเป็นเพื่อปูองกันการติดเชื้อแกํลูกค๎ารายอื่น การปฏิบัติดังกลําวก็อาจไมํใชํการเลือกปฏิบัติ แตํหากสถานที่

                   ดังกลําวไมํสามารถแสดงเหตุผลถึงอันตรายตํอลูกค๎ารายอื่นจากการให๎บริการผู๎ติดเชื้อเอชไอวีแล๎ว การ
                   กระทําดังกลําวก็อาจเป็นการเลือกปฏิบัติ หรือในกรณีของผู๎ประกอบธุรกิจประกันภัยที่สรุปเหมารวมวํา
                   หากผู๎ขอเอาประกันมีชื่อในทะเบียนบ๎านของบางจังหวัด เป็นผู๎มีความเสี่ยงติดเชื้อเอชไอวีจึงต๎องให๎ไปตรวจ
                   เชื้อกํอนรับประกัน การปฏิบัติเชํนนี้มีประเด็นวําเป็นการเหมารวมโดยมีน้ําหนักที่จําเป็นอยํางยิ่งหรือไมํ


                           อยํางไรก็ตาม หากกฎหมายจํากัดสิทธิผู๎ติดเชื้อบางกรณี ซึ่งมีความรุนแรงและมีหลักฐานทาง
                   วิทยาศาสตร์ชี้ให๎เห็นวําอาจแพรํเชื้อได๎โดยงํายและไมํอาจปูองกันได๎ กรณีเชํนนั้นกฎหมายที่จํากัดสิทธิของผู๎

                   ติดเชื้อดังกลําวอาจถือได๎วํามีน้ําหนักเพียงพอเมื่อชั่งน้ําหนักกับประโยชน์ซึ่งก็คือความปลอดภัยของ
                   ประชาชนอื่นๆ และอาจใช๎บังคับได๎โดยไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ  เชํนเดียวกับกรณีการปฏิบัติของ
                   ภาคเอกชนตํอผู๎ติดเชื้อเอชไอวี หากมีเหตุผลอันมีน้ําหนักเพื่อคุ๎มครองสิทธิของผู๎อื่น การปฏิบัติที่แตกตํางก็
                   อาจไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ






                   4.8 การเลือกปฏิบัติในกรณีบริการภาครัฐ




                           4.8.1 การระบุข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาในบัตรประชาชน


                           มีประเด็นปัญหาวํา ประชาชนบางรายอาจไมํต๎องการระบุศาสนาในบัตรประชาชน หรือ ต๎องการ
                   ระบุศาสนาอื่นที่มิใชํศาสนากระแสหลัก กฎหมายและแนวปฏิบัติของหนํวยงานรัฐจะเป็นการเลือกปฏิบัติ

                   ด๎วยเหตุแหํงศาสนาหรือไมํ


                           เมื่อพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข๎องแล๎วพบวํา กฎหมายฉบับหลักที่เกี่ยวข๎องคือ พระราชบัญญัติบัตร

                   ประจําตัวประชาชน พ.ศ. 2526 มาตรา 7 กําหนดวํา “ขนาด สี และลักษณะของบัตร ตลอดจนรายการใน

                   บัตร และรายละเอียดของรายการในบัตร ให๎เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง แตํในบัตรอยํางน๎อยต๎องมี
                   รายการ ดังตํอไปนี้ ....(1) ชื่อตัว ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยูํตามทะเบียนบ๎าน รูปถํายและเลขประจําตัว
   363   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373