Page 366 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 366

342


                                                        263
                   เกิดการกีดกันบุคคลดังกลําวจากสังคม....”  เมื่อเปรียบเทียบคดีนี้กับคดีดังกลําวแล๎ว ศาลจึงตัดสินวํา
                   บุคคลที่ติดเชื้อ HIV จัดอยูํในกลุํมเปราะบาง (Vulnerable Group) ด๎วยเชํนกัน ดังนั้น รัฐมี “Margin of

                   Appreciation”  ในขอบเขตที่แคบ  ศาลอธิบายวํา “นับแตํการแพรํระบาดในวงกว๎างของ HIV  ในชํวงปี
                   1980 ประชาชนผู๎ติดเชื้อ HIV ต๎องทุกข์ทรมานกับการกีดกันและการตีตรา ผู๎อื่นในสังคมเกิดความตระหนก
                   และหวาดหวั่นตํอการติดเชื้อและเกรงกลัวผู๎ติด เชื้อ นอกจากนี้ การติดเชื้อดังกลําวยังถูกนําไปเชื่อมโยงกับ
                   พฤติกรรม  เชํน การรํวมเพศของผู๎รักรํวมเพศ  ผู๎ติดยาเสพติด โสเภณี  ซึ่งพฤติกรรมเหลํานี้เป็นที่ดูหมิ่น

                   เหยียดหยามในหลายสังคม การติดเชื้อยังสํงผลให๎คนในสังคมสร๎างความเชื่อมโยงระหวํางผู๎ติดเชื้อ กับการ
                   ขาดความรับผิดชอบและพฤติกรรมที่ไมํเหมาะสมดังกลําว  อันกํอให๎เกิดรูปแบบของการเลือกปฏิบัติอื่นๆ
                   ตามมาอีกด๎วย เชํน การเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงสีผิว เชื้อชาติ รสนิยมทางเพศ เป็นต๎น แม๎วําในปัจจุบันมี
                   การพัฒนาวิธีการปูองกันและการบําบัดผู๎ติดเชื้อ  แตํการตีตราและเลือกปฏิบัติตํอผู๎ติดเชื้อยังคงเกิดขึ้นอยูํ

                   อยํางแพรํหลาย ดังนั้น บุคคลผู๎ติดเชื้อ HIV เป็นกลุํมผู๎เปราะบางซึ่งมีประวัติศาสตร์แหํงการตีตราและอคติ
                   รัฐจึงควรมี  “Margin  of  Appreciation”  ในขอบเขตที่แคบในการเลือกมาตรการที่จะใช๎กับกลุํมดังกลําว
                                                                                   264
                   สําหรับการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงสถานะความเป็นผู๎ติดเชื้อ HIV”   ดังนั้น  ในการพิจารณา
                   มาตรการที่รัฐนํามาใช๎อันสํงผลตํอการเลือกปฏิบัติกับผู๎อยูํใน  กลุํมเปราะบางนี้ (ซึ่งในคดีนี้ก็คือการที่รัฐไมํ

                   อนุญาตให๎ผู๎ติดเชื้อ HIV ขอมีถิ่นที่อยูํ) ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปใช๎เกณฑ์พิจารณาที่ต๎องชั่งน้ําหนัก เป็นอยําง
                   ยิ่ง (Very  Weighty  Reasons-Test)  และการพิจารณาความชอบด๎วยกฎหมายของมาตรการดังกลําวนั้น
                   จะต๎องพิจารณาด๎วยความเข๎มงวดอยํางยิ่ง (Rigorous Scrutiny)


                           ดังนั้น ศาลเห็นวํามาตรการที่รัฐนํามาใช๎นั้นอยูํบนสมมุติฐานที่เชื่อมโยงการติดเชื้อ  HIV  กับ
                   พฤติกรรมที่ไมํเหมาะสม ซึ่งศาลเห็นวําไมํมีน้ําหนักเพียงพอ “...การกีดกันผู๎ติดเชื้อ HIV จากการเข๎าประเทศ

                   หรือการขอมีถิ่นที่อยูํ เพื่อปกปูองการแพรํกระจายของเชื้อ HIV นั้น อยูํบนสมมุติฐานที่วํา บุคคลเหลํานั้นมัก
                   เกี่ยวข๎องกับพฤติกรรมที่แสดงถึงความไมํปลอดภัย และประชาชนในประเทศไมํสามารถปูองกันตนเองได๎ ซึ่ง
                   สมมุติฐานดังกลําวเป็นการเหมารวม (Generalization)  ซึ่งไมํสอดคล๎องกับข๎อเท็จจริงและไมํคํานึงถึง
                                                                                 265
                   สถานการณ์ของปัจเจกบุคคลซึ่งมี ความแตกตํางกันไปในแตํละสถานการณ์  ด๎วยเหตุนี้ หลังจากพิจารณา
                   อยําง ลึกซึ้งถึงเหตุผล (Justification) ของมาตรการรัฐที่พิพาทแล๎ว ศาลเห็นวํา มาตรการดังกลําวยังไมํมี

                   น้ําหนักและเหตุผลที่เพียงพอ และตัดสินวํา ผู๎ร๎องเป็นเหยื่อของการถูกเลือกปฏิบัติ













                   263  Alajos Kiss v. Humgary, Para 42
                   264  Kiyutin v. Russia, para 64
                   265
                      Kiyutin v. Russia, para 68
   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371