Page 358 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 358
334
และ การเรียนรู๎ หรือมีรํางกายพิการ หรือ ทุพพลภาพ หรือเด็กซึ่งไมํสามารถพึ่งตนเองได๎ หรือ ไมํมีผู๎ดูแล
หรือด๎อยโอกาส หรือเด็กที่มีความสามารถพิเศษให๎ได๎รับการศึกษาภาคบังคับด๎วยรูปแบบและวิธีการที่
243
เหมาะสม รวมทั้งการได๎รับสิ่งอํานวยความสะดวก จะเห็นได๎วํา พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ
กําหนดหลักการเพื่อทําให๎บุคคลได๎มีโอกาสเข๎ารับการศึกษา ให๎สอดคล๎องกับพระราชบัญญัติการศึกษา
แหํงชาติซึ่งกําหนดให๎มีการศึกษาภาคบังคับไว๎ ดังนั้นพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับจึงเป็นกฎหมายที่
มุํงสํงเสริมให๎เกิดความเทําเทียมกันและความเสมอภาคทางการศึกษา
สําหรับการที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ และ พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ กําหนด
หลักการให๎จัดการศึกษาสําหรับบุคคลบางกลุํมเป็นพิเศษ มีลักษณะเป็นการให๎สิทธิพิเศษแกํบุคคลบาง
244
กลุํม ซึ่งโดยหลักแล๎วเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกัน อยํางไรก็ตาม การจัดการศึกษาเป็นพิเศษนี้อาจเทียบ
ได๎กับมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative Action) เพื่อให๎บุคคลที่มีลักษณะพิเศษดังกลําวได๎มีโอกาส
เข๎าถึงการศึกษาที่เทําเทียมกับบุคคลทั่วไป
นอกจากกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาทั้งสองฉบับดังกลําว ยังมีกฎหมายเฉพาะกรณีการศึกษา
สําหรับคนพิการ คือ พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาส าหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ซึ่งวางหลักรับรอง
245
สิทธิในการศึกษาของคนพิการ โดย ให๎สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทําแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลให๎
246
สอดคล๎องกับความต๎องการจําเป็นพิเศษของคนพิการ รวมทั้งให๎เงินอุดหนุนและความชํวยเหลือเป็นพิเศษ
247
จากรัฐแกํสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการ จะเห็นได๎วํา มาตรการตาม
กฎหมายฉบับนี้ปฏิบัติตํอคนพิการในมิติของการศึกษาแตกตํางจากบุคคลอื่น แตํการปฏิบัติแตกตํางกันนี้
เป็นไปเพื่อทําให๎คนพิการได๎มีโอกาสในการศึกษาเทําเทียมกับบุคคลทั่วไป จึงจัดเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิง
บวก (Affirmative Action) ได๎เชํนกัน
หากเปรียบเทียบในมิติการศึกษากับกฎหมายสหรัฐอเมริกาที่นํามาวิเคราะห์ข๎างต๎นพบวํา มาตรการ
ที่ให๎สิทธิพิเศษ (Privilege) สําหรับบุคคลบางกลุํมอาจจัดเป็นมาตรการพิเศษซึ่งเป็นข๎อยกเว๎นจากการห๎าม
เลือกปฏิบัติได๎ แตํต๎องอยูํภายใต๎ขอบเขตที่ศาลกําหนดไว๎ หากเปรียบเทียบกับกรณีของไทย พบวํา หลักการ
ตามกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับการศึกษาข๎างต๎นก็อาจจัดเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกหรือมาตรการ
พิเศษได๎เชํนกัน นอกจากนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเคยพิจารณาวํา “..การก าหนดหลักเกณฑ์
การรับนักเรียนสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ก าหนดให้รับนักเรียนในเขตพื้นที่ไม่
น้อยกว่าร้อยละ 50 ไม่เป็นการเลือกปฏิบัติและไม่กระทบต่อสิทธิของเด็กที่เข้าศึกษา ซึ่งการก าหนดรับ
243
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 มาตรา 12
244
พระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 10 วรรคสอง และวรรคสาม และ พระราชบัญญัติการศึกษาภาค
บังคับ พ.ศ. 2545 มาตรา 12 ดังที่ได๎ชี้ให๎เห็นแล๎วในบทที่ 3
245 พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 มาตรา 5
246 พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 มาตรา 8
247
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 มาตรา 7