Page 359 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 359
335
นักเรียนโดยอาศัยเกณฑ์ทะเบียนราษฎรเป็นหลักนั้นเป็นการรับรองสิทธิ ไม่เป็นการจ ากัดสิทธิจึงไม่มี
การเลือกปฏิบัติแต่อย่างใด ...” (รายงานผลการพิจารณาที่ 927-928/2558) จะเห็นได๎วํา หากพิจารณา
โดยทั่วไปแล๎ว มาตรการดังกลําวเป็นการให๎สิทธิพิเศษแกํนักเรียนที่อยูํในเขตพื้นที่ จึงอาจมองวําเป็นการ
ปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุ “ถิ่นที่อยูํ” อยํางไรก็ตาม มีประเด็นวํา เหตุเกี่ยวกับถิ่นที่อยูํในความหมายเชิง
กายภาพหรือพื้นที่เชํนนี้ จะถือเป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติในลักษณะเดียวกับ “เชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด หรือ
สังคมดั้งเดิม” หรือไมํ นอกจากนี้ อาจพิจารณาได๎วํามาตรการดังกลําวเป็นไปเพื่อสํงเสริมให๎นักเรียนในพื้นที่
ได๎มีโอกาสเรียนใกล๎ที่อยูํอาศัย และเป็นประโยชน์อยํางหนึ่งซึ่งรัฐพึงคุ๎มครองปกปูอง จึงเป็นมาตรการยืนยัน
สิทธิเชิงบวกที่ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ
ในกรณีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติกรณี “ความพิการ” นั้นพบวํา
พระราชบัญญัติสํงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายที่รับรองสิทธิในการ
เข๎าถึงและใช๎สิ่งอํานวยความสะดวกสาธารณะ สวัสดิการจากรัฐ จึงมีลักษณะเป็นกฎหมายที่กําหนด
มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกให๎กับคนพิการ นอกจากนี้ ระเบียบของคณะกรรมการที่ออกตามความใน
248
พระราชบัญญัติดังกลําวยังได๎วางหลักเกี่ยวกับ “การชํวยเหลือที่สมเหตุสมผล” ไว๎วําหมายถึง “การ
เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงที่จําเป็นและเหมาะสมโดยไมํกํอให๎เกิดภาระอันเกินควรหรือเกินสัดสํวน เฉพาะใน
กรณีที่จําเป็นเพื่อประกันวําคนพิการได๎อุปโภคและใช๎สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานทั้งปวงที่เทํา
เทียมกับบุคคลอื่น” จะเห็นได๎วํา การชํวยเหลือที่สมเหตุสมผลนี้ สอดคล๎องกับ “Reasonalbe
Accommodation” ที่กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศกําหนดให๎รัฐมีพันธกรณีต๎องจัดให๎มีการ
ชํวยเหลือดังกลําว
ในกรณีผู๎สูงอายุนั้น ประเทศไทยก็มีกฎหมายเฉพาะได๎แกํ พระราชบัญญัติผู๎สูงอายุ พ.ศ. 2546 ซึ่ง
กําหนดรับรองสิทธิในด๎านตํางๆ ของผู๎สูงอายุ จะเห็นได๎วํา กฎหมายฉบับนี้อาจจัดเป็นมาตรการยืนยันสิทธิ
เชิงบวกโดยปฏิบัติตํอผู๎สูงอายุเป็นพิเศษทั้งนี้เพื่อให๎เกิดความเทําเทียมกับบุคคลอื่นๆ
สําหรับกฎหมายเฉพาะกรณีการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศ ก็มีหลักการเชํนกัน ดังจะเห็นได๎จาก
พระราชบัญญัติความเทําเทียมระหวํางเพศ พ.ศ. 2558 มาตรา 17 ซึ่งมีการกําหนดมาตรการยืนยันสิทธิเชิง
249
บวกในวรรคท๎าย
248 ข๎อ 4. ระเบียบคณะกรรมการสํงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหํงชาติวําด๎วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน
การร๎องขอ การรวบรวมพยานหลักฐานการไกลํเกลี่ย การวินิจฉัย และคําตอบแทนของคณะอนุกรรมการหรือผู๎ไกลํเกลี่ย
เกี่ยวกับการกระทําในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอคนพิการ พ.ศ. 2556
249
มาตรา 17 กําหนดวํา