Page 355 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 355
331
ประเด็นของมาตรการยืนยันสิทธิในเชิงบวกที่สําคัญในบริบทของการศึกษาจะเห็นได๎จากนโยบาย
ของสถานศึกษาในการให๎โควตาสําหรับกลุํมบุคคลบางกลุํม โดยเฉพาะอยํางยิ่งการให๎โควตาด๎วยเหตุแหํง
การเลือกปฏิบัติเชํน เชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด สีผิว ดังเชํน ในคดี Regents of University of California v.
239
Bakke ซึ่งเป็นกรณีที่มหาวิทยาลัยมีนโยบายรับนักศึกษาด๎วยโควตาที่กําหนดขึ้นจากมูลเหตุเชื้อชาติ
(Racial Quota) กลําวคือจํากัดที่นั่งจํานวน 16 ที่นั่งจาก 100 ที่นั่งให๎บุคคลบางเชื้อชาติ สีผิว ศาลสูงสุด
สหรัฐอเมริกาตัดสินด๎วยเสียงข๎างมากวํากรณีนี้แม๎วําเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ในการสร๎างความหลากหลาย
ของเชื้อชาติให๎เกิดขึ้นในชั้นเรียนด๎วยการให๎โควตาชํวยเหลือกลุํมเชื้อชาติบางกลุํม แตํมีลักษณะกว๎างเกินไป
และขัดตํอหลักความเทําเทียมกัน
จากการวิเคราะห์เหตุผลในคําพิพากษาศาลสูงสุดแล๎วพบวํา โดยทั่วไปแล๎วนโยบายนี้มีลักษณะการ
ปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางบุคคลที่มีเชื้อชาติ สีผิวตํางกัน ทําให๎โจทก์ซึ่งเป็นคนผิวขาวโต๎แย๎งวําตนไมํอยูํใน
โควตาสําหรับคนผิวสี จึงเป็นการเลือกปฏิบัติตํอตนด๎วยเหตุเชื้อชาติ สีผิว อยํางไรก็ตาม ทางมหาวิทยาลัย
อ๎างวํา นโยบายดังกลําวมีวัตถุประสงค์เพื่อชดเชยเหยื่อจากความไมํเป็นธรรมในการแบํงแยกทางสังคม
(Compensate Victims of Unjust Societal Discrimination) จึงถือเป็นมาตรการยืนยันสิทธิในเชิงบวก
(Affirmative Action) เพื่อสร๎างโอกาสแกํกลุํมบุคคลในกลุํมเสี่ยงตํอการเลือกปฏิบัติ ประเด็นสําคัญของคดี
จึงอยูํที่การพิจารณาวํา นโยบายนี้ถือเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกหรือไมํ และขัดตํอหลักการคุ๎มครอง
240
ความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 14 หรือไมํ ศาลอธิบายวําหลักความเทําเทียม
กันคุ๎มครองบุคคลทุกเชื้อชาติ สีผิว อยํางไรก็ตามการปฏิบัติตํอบุคคลดังกลําวแตกตํางกันนั้นอาจทําได๎
ตํอเมื่อเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สําคัญที่รัฐพึงปกปูอง (Compelling State Interest)
จะเห็นได๎วําศาลได๎นําหลักวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมายมาพิจารณาวําโควตาดังกลําวเป็นไป
เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์อันเกี่ยวข๎องกับผลประโยชน์สําคัญของรัฐที่พึงปกปูอง หรือไมํ กลําวคือ หาก
การกําหนดโควตานั้นเป็นไปด๎วยวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมาย เกี่ยวข๎องกับผลประโยชน์สําคัญของรัฐ
แล๎ว ก็ไมํเป็นการขัดตํอหลักความเทําเทียมกัน หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกซึ่งจัดวํา
เป็นข๎อยกเว๎นของการเลือกปฏิบัตินั่นเอง
มหาวิทยาลัยอ๎างวําโควตาดังกลําวเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สําคัญของรัฐในการชํวยเพิ่มจํานวน
แพทย์ซึ่งเป็นคนกลุํมน๎อยและชํวยให๎ชุมชนของคนกลุํมน๎อยได๎มีแพทย์เพิ่มขึ้น ศาลเห็นวําข๎ออ๎างนี้ยังไมํมี
เหตุผลเพียงพอเนื่องจากวัตถุประสงค์ที่กลําวอ๎างสามารถทําให๎บรรลุได๎เชํนกัน หากรับแพทย์คนผิวขาว
เพิ่มขึ้นและแพทย์ซึ่งเป็นคนผิวขาวเข๎ามาปฏิบัติงานในชุมชนของคนกลุํมน๎อย อยํางไรก็ตามศาลเห็นวํา การ
สํงเสริมให๎เกิดความหลากหลายในเชื้อชาติของนักศึกษาที่รับเข๎ามาแตํละปีนั้น (Racially Diverse Student
Body) เป็นผลประโยชน์สําคัญอันหนึ่งซึ่งรัฐพึงปกปูอง
239 Regents of the University of California v. Bakke 438 U.S. 265 (1978)
240
Equal Protection Clause of the Fourteenth Amendment to the United States Constitution