Page 356 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 356
332
อยํางไรก็ตาม นโยบายกําหนดโควตาจํานวนหนึ่งให๎ชนกลุํมน๎อย เป็นการเลือกปฏิบัติตํอโจทก์
เนื่องจากยังมีมาตรการอื่นที่จํากัดสิทธิน๎อยกวํา (Less Restrictive Program) อันสามารถนํามาปรับใช๎ เพื่อ
บรรลุซึ่งวัตถุประสงค์อันประกอบด๎วยผลประโยชน์สําคัญดังกลําว เชํน การนําปัจจัยด๎านเชื้อชาติ สีผิว มา
เป็นปัจจัยหนึ่งสําหรับประกอบการพิจารณารับนักศึกษา (Making Race One of Several Factors in
Admission) เชํนบางมหาวิทยาลัยซึ่งไมํได๎กําหนดโควตาสําหรับชนกลุํมน๎อยด๎วยจํานวนที่กําหนดแนํนอน
แตํมีความพยายามในการรับนักศึกษาเชื้อชาติ สีผิว ตํางๆให๎เกิดความหลากหลาย ซึ่งศาลยกตัวอยํางให๎เห็น
วํา นโยบายของสถานศึกษาที่นําเอาเชื้อชาติ สีผิว มาเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งในหลายๆปัจจัยสําหรับการรับ
นักศึกษานั้นสามารถทําได๎ เนื่องจากไมํเป็นการจํากัดสิทธิของคนบางกลุํมจนเกินไป สําหรับนโยบายเชํนนี้
ผู๎สมัครผิวขาวอาจเสียเปรียบผู๎สมัครผิวสีในแงํเชื้อชาติ สีผิว แตํยังมีสิทธิแขํงขันด๎วยปัจจัยอื่นๆ เชํน
ความสามารถในทางวิชาการ การทํากิจกรรม กีฬา ฯลฯ ดังนั้นนโยบายดังกลําวไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญ หรือ
อีกนัยหนึ่งก็คือ ถือวําเป็นมาตรการยืนยันสิทธิในเชิงบวกที่ชอบด๎วยกฎหมาย
241
หลักการดังกลําวถูกศาลนํามาใช๎ในปี 2003 ดังจะเห็นได๎จากคดี Grutter v. Bollinger ซึ่งเป็น
กรณีนักศึกษาผิวขาวผู๎มีผลการเรียน 3.8 ถูกปฏิเสธการรับเข๎าศึกษาตํอในมหาวิทยาลัยเนื่องจากนโยบายใช๎
ปัจจัยด๎านเชื้อชาติเป็นปัจจัยหนึ่งสําหรับการพิจารณารับนักศึกษา นักศึกษาผู๎นี้จึงฟูองวําการใช๎ปัจจัย
ดังกลําวเป็นการฝุาฝืนหลักความเทําเทียมกันที่กําหนดไว๎ในรัฐธรรมนูญฉบับแก๎ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 14
ในการพิจารณาวําเกณฑ์การคัดเลือกของมหาวิทยาลัย Michigan นั้นเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิง
บวก (Affirmative Action) ซึ่งทําได๎โดยไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญหรือไมํนั้น ศาลสูงสุดพิจารณาโดยใช๎หลักการ
ดังที่ปรากฏในคดี Regents of the University of California v. Bakke กลําวคือ ศาลพิจารณาวําเกณฑ์
ดังกลําวมีวัตถุประสงค์เกี่ยวข๎องกับผลประโยชน์สําคัญที่รัฐพึงปกปูอง (Compelling State Interest)
กลําวคือวัตถุประสงค์ในการสร๎างชั้นเรียนที่ประกอบด๎วยความหลากหลายของนักศึกษา นอกจากนั้น ศาล
พิจารณาวํา มาตรการดังกลําวมีมาตรการอื่นที่จํากัดสิทธิน๎อยกวํา (Less Restrictive Program) หรือไมํ
ศาลเปรียบเทียบกับมาตรการในลักษณะ “โควตา” โดยเห็นวํา แม๎เกณฑ์การรับนักศึกษานี้จะเป็นการปฏิบัติ
ในลักษณะพิเศษแกํชนกลุํมน๎อยที่ด๎อยโอกาส (Underrepresented Minority Group) แตํมีการนําปัจจัย
อื่นๆเข๎ามาประกอบการพิจารณาสําหรับผู๎สมัครแตํละรายด๎วย ซึ่งแตกตํางกับระบบโควตา ดังที่ศาลในคดี
Regents of the University of California v. Bakke ตัดสินวําระบบโควตานั้นยังมีมาตรการทางเลือกอื่น
ที่จํากัดสิทธิน๎อยกวํา ซึ่งก็คือมาตรการนําเอาปัจจัยด๎านเชื้อชาติมาประกอบการพิจารณาดังเชํนในคดีนี้
ดังนั้นในคดีนี้จึงไมํใชํกรณีที่ยังมีมาตรการอื่นที่จํากัดสิทธิน๎อยกวํา ด๎วยเหตุนี้มาตรการดังกลําวจึงไมํขัดตํอ
รัฐธรรมนูญ
จะเห็นได๎วํา จากเหตุผลในคําพิพากษาคดีนี้ แสดงให๎เห็นถึงการปรับใช๎หลัก “มาตรการยืนยันสิทธิ
ในเชิงบวก” (Affirmative Action) โดยศาลได๎วางหลักที่สําคัญดังนี้
241
Grutter v. Bollinger, 539 U.S. 306 (2003)