Page 354 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 354
330
ตัวอยํางคดีตามกฎหมายตํางประเทศ
ศาลสูงสุดอินเดียตัดสินวํา การแตํงตั้งผู๎หญิงเป็นพิเศษ ได๎รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ (The
Government of Andhra Pradesh v. P B Vijayakumar, 1995)
แอฟริกาใต๎ กฎระเบียบเกี่ยวกับเงินสวัสดิการสําหรับตําแหนํงบางตําแหนํงที่ต๎องมีการสมทบเป็น
พิเศษจากนายจ๎างซึ่งแตกตํางจากตําแหนํงอื่นๆ ศาลเห็นวํา เป็นกรณีความแตกตํางกันที่ไมํถือวําเป็นการ
เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม เพราะเป็นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก (Minister of Finance and others v.
Van Heerden, 2004)
4.6.2 หลักความเท่าเทียมกันและมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกในต่างประเทศ : ศึกษากรณีมิติ
การศึกษา
มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกอาจปรากฏในมิติตํางๆ เชํน แรงงาน การศึกษา บริการสาธารณะ
สําหรับในสํวนนี้จะนําเอามิติด๎านการศึกษามาเป็นกรณีศึกษาในการวิเคราะห์ สําหรับในกฎหมาย
ตํางประเทศนั้น ผู๎วิจัยจะได๎ศึกษากรณีของกฎหมายสหรัฐอเมริกา ซึ่งตามกฎหมายสหรัฐอเมริกานั้น การ
ปฏิบัติที่แตกตํางกันในมิติของการศึกษานั้น ในบางกรณีอาจไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้เนื่องจาก
มาตรการ นโยบาย หรือกฎหมายที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว ถิ่นกําเนิด หรือ
เหตุอื่นนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดความแตกตํางและสร๎างความเทําเทียมกัน จึงถือได๎วําเป็น
ข๎อยกเว๎นซึ่งทําให๎การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ โดยจัดเป็นมาตรการยืนยันสิทธิใน
238
เชิงบวก เชํน คดี Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education ซึ่งเป็นกรณีของเมือง
Charlotte ในมลรัฐ North Carolina มีการกําหนดนโยบายรถนักเรียนเพื่อรับนักเรียนผิวสีไปเรียนที่
โรงเรียนซึ่งมีเด็กผิวขาวสํวนมากเรียนอยูํ โจทก์ฟูองวํานโยบายรถนักเรียนดังกลําวเป็นการจําแนกความ
แตกตํางและไมํเทําเทียมกัน ศาลตัดสินวํานโยบายนี้เป็นการแก๎ปัญหาความไมํสมดุลทางเชื้อชาติ (Racial
Imbalance) แม๎วําความไมํสมดุลดังกลําวเกิดจากการกําหนดให๎นักเรียนเข๎าเรียนตามพื้นที่
(Neighborhood Policy) แตํก็ไมํได๎เกิดจากมูลเหตุจูงใจในการแบํงแยกสีผิว ดังนั้นนโยบายนี้จึงมีความ
เหมาะสมเพื่อให๎นักเรียนมีโอกาสเรียนเทําเทียมกัน จะเห็นได๎วํามาตรการหรือนโยบายดังกลําวนี้ อาจมองวํา
เป็นการปฏิบัติทีแตกตํางกันแตํจัดอยูํในลักษณะของมาตรการยืนยันสิทธิในเชิงบวก “Affirmative Action”
เพื่อชํวยให๎เกิดความเทําเทียมกันระหวํางเด็กนักเรียนที่มีความแตกตํางกันให๎ได๎รับสิทธิอยํางเทําเทียมกัน จึง
ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ
238
Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education 402 U.S. 1 (1971)