Page 351 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 351
327
ในกรณีของ CEDAW หลักการเกี่ยวกับมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก ซึ่งเรียกวํา “มาตรการพิเศษ”
227
มีดังนี้
“การที่รัฐภาคีออกมาตรการพิเศษชั่วคราว ซึ่งมุํงที่จะเรํงรัดให๎มีความเสมอภาคที่แท๎จริงระหวําง
บุรุษและสตรี จะไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติตามที่ได๎นิยามความหมายไว๎ในอนุสัญญาฉบับปัจจุบัน แตํจะ
โดยประการใดก็ตาม ต๎องไมํมีการคงมาตรฐานอันไมํเสมอภาคหรือแบํงแยกไว๎ในฐานะเป็นผลที่ตามมา
มาตรการเหลํานี้จะสิ้นสุดเมื่อได๎บรรลุวัตถุประสงค์ของความเสมอภาคของโอกาสและการปฏิบัติ”
สําหรับการตีความ CEDAW นั้น พบวํา ข๎อแนะนําทั่วไป (General Recommendation No. 25)
ได๎อธิบายถึงทางเลือกในการใช๎ถ๎อยคําตํางๆในความหมายของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก เชํน “Special
measure”, “Positive action”, “Positive measure”, “Reverse discrimination”, “Positive
discrimination” เป็นต๎น นอกจากนี้ยังอธิบายวํา มาตรการทั่วไปซึ่งมีลักษณะชั่วคราวนั้นเป็นสํวนหนึ่งของ
กลยุทธ์อันจําเป็น (Necessary strategy) อันนําไปสูํความเทําเทียมกันเชิงสาระ (Substantive equality)
มากกวําจะถือวําเป็นข๎อยกเว๎นของการห๎ามเลือกปฏิบัติ สําหรับในประเด็นเกี่ยวกับลักษณะ “ชั่วคราว”
ของมาตรการพิเศษนั้น เห็นวําจะต๎องไมํมีลักษณะถาวรหรือยาวนานตลอดไป แตํมิได๎ระบุถึงชํวงเวลาไว๎
อยํางชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากต๎องพิจารณาให๎เหมาะสมกับผลที่ต๎องการและปัญหาที่ต๎องการแก๎ไข ดังนั้นจึงไมํ
228
สามารถระบุเวลาสําหรับมาตรการดังกลําวให๎ชัดเจนไว๎ลํวงหน๎าได๎ สําหรับกรณีมาตรการพิเศษที่
เฉพาะเจาะจงนั้น ข๎อแนะนําทั่วไป (General Recommendation No. 23) ได๎สนับสนุนการดําเนิน
มาตรการด๎วยการกําหนดโควตาที่เกี่ยวกับตําแหนํงงานภาครัฐและตําแหนํงทางการเมืองเพื่อให๎เกิดความ
229
สมดุลระหวํางเพศ
สําหรับ ICESCR นั้น พบวํามีการตีความหลายฉบับที่เกี่ยวข๎องกับมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกหรือ
มาตรการพิเศษ ดังจะเห็นได๎จาก
230
- ความเห็นทั่วไป (General Comment No. 16) หลักการของความเทําเทียมกันและการไมํ
เลือกปฏิบัติโดยตัวของมันแล๎วไมํเป็นการเพียงพอเสมอไปสําหรับการรับรองให๎เกิดความเทําเทียมอยําง
แท๎จริง ดังนั้น มาตรการพิเศษซึ่งมีลักษณะชั่วคราวจึงมีความจําเป็นเพื่อให๎กลุํมเสียเปรียยบหรือกลุํมที่ถูกกีด
กันได๎อยูํในสถานะเทําเทียมกับผู๎อื่น มาตรการพิเศษมิได๎มุํงหมายเฉพาะความเทําเทียมกันโดยนิตินัยหรือ
ความเทําเทียมกันเชิงรูปแบบ (De Jure or Formal Equality) เทํานั้น แตํยังมุํงให๎เกิดความเทําเทียมกัน
เชิงพฤตินัยหรือเชิงสาระ (De facto or substantive equality) ระหวํางเพศชายและหญิง อยํางไรก็ตาม
การปรับใช๎หลักความเทําเทียมกันนั้น รัฐอาจต๎องดําเนินมาตรการในลักษณะปฏิบัติเป็นพิเศษตํอผู๎หญิง
227
Article 4, CEDAW
228 Committee on the Elimination of Discrimination against Women, General Recommendation No.25,
para. 18 and 20
229 Committee on the Elimination of Discrimination against Women, General Recommendation No.23
230
Committee on Economic, Social and Cultural Rights, General Comment No.16