Page 349 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 349
325
คุ๎มครองบุคคลจากการเลือกปฏิบัติแตํยังกําหนดให๎ต๎องจัดให๎มี “มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก”
(Affirmative action) เพื่อรับรองสิทธิตํางๆตามที่กําหนดไว๎ใน ICCPR”
217
ความเห็นทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ (General Comment No.23)
ซึ่งมีประเด็นเกี่ยวกับมาตรการเชิงบวก (Positive Action) ในกรณีชนกลุํมน๎อย คณะกรรมการได๎อธิบายวํา
สิทธิตาม ICCPR นั้นเป็นสิทธิของปัจเจกชน แตํย้ําวํา “มาตรการเชิงบวก (Positive action) โดยรัฐอาจมี
ความจําเป็นเพื่อคุ๎มครองสิทธิของชนกลุํมน๎อยเกี่ยวกับการพัฒนาวัฒนธรรม ภาษา และการปฏิบัติเกี่ยวกับ
ศาสนา”
ตัวอยํางของคดีที่พิจารณาตามบทบัญญัติของ ICCPR อันเกี่ยวข๎องกับมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก
218
เชํน Stalla Costa v. Uruguay คดีนี้เป็นกรณีเจ๎าหน๎าที่ของรัฐได๎รับการปฏิบัติเป็นพิเศษเกี่ยวกับการ
เข๎าถึงบริการสาธารณะ แตํด๎วยมีเหตุผลเพราะกลุํมเจ๎าหน๎าที่ดังกลําวเคยถูกเลิกจ๎างอยํางไมํเป็นธรรมด๎วย
เหตุเกี่ยวกับความคิดเห็น การเมือง และการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํง
สหประชาชาติเห็นวํากรณีนี้ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติเนื่องจากเป็นกรณีของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก
นอกจากนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงสหประชาชาติยังได๎ยอมรับมาตรการของรัฐในการกําหนด
โควตาสําหรับตําแหนํงบางอยํางให๎กับบุคคลที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน กรณีที่อินเดีย
กําหนดโควตาสําหรับตําแหนํงทางการเมืองท๎องถิ่นสําหรับผู๎หญิง รวมทั้งสําหรับสมาชิกกลุํมชาติพันธุ์บาง
219
กลุํม
ในกรณีของ CERD นั้น ได๎กําหนดหลักการเกี่ยวกับมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกไว๎ดังนี้
“มาตรการพิเศษที่จัดให๎มีขึ้นตามความจําเป็น โดยมีเจตนาเพื่อประกันให๎มีความก๎าวหน๎าอยําง
เพียงพอในหมูํชนบางเชื้อชาติหรือบางเผําพันธุ์ หรือบุคคลบางกลุํมที่ต๎องการความคุ๎มครอง เพื่อให๎กลุํมหรือ
บุคคลเหลํานั้นได๎มีสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานอยํางเสมอภาค จะไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติทาง
เชื้อชาติ ทั้งนี้ มาตรการดังกลําวต๎องไมํกํอให๎เกิดการธํารงไว๎ซึ่งสิทธิที่แตกตํางกันระหวํางกลุํมชนเชื้อชาติ
220
ตํางๆ และจะไมํคงอยูํตํอไปภายหลังจากที่ได๎บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว๎แล๎ว”
“เมื่อสถานการณ์เหมาะสมและโดยคํานึงถึงด๎านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และอื่นๆ รัฐภาคีจะ
จัดให๎มีมาตรการพิเศษและเป็นรูปธรรมเพื่อประกันให๎มีการพัฒนาอยํางพอเพียงและให๎การคุ๎มครองแกํกลุํม
ชนหรือบุคคลบางเชื้อชาติโดยมีเจตนารมณ์ที่จะประกันให๎บุคคลเหลํานั้นมีสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้น
217 Human Rights Committee, General Comment No.23
218 Stalla Costa v. Uruguay , No. 198/1985
219 Human Rights Committee, Concluding Observations on India, 1997
220
Article 1 (4), CERD