Page 348 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 348

324


                           มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก อาจพิจารณาในฐานะเป็นข๎อยกเว๎นของหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติซึ่ง
                   ปรากฏในกฎหมายตํางประเทศหลายประเทศ โดยอาจใช๎คําเรียกเป็นอยํางอื่น เชํน ในประเทศแคนาดา มี

                   กฎหมายระดับมลรัฐของ Ontario วางหลักเกี่ยวกับ “Special Program” ในฐานะมาตรการที่สํงผลให๎เกิด
                   การปฏิบัติที่แตกตํางกัน แตํได๎รับยกเว๎นไมํให๎เป็นการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้กฎหมายสิทธิมนุษยชนของ Ontario
                   วางหลักวํา สิทธิในความเทําเทียมกันตามกฎหมายนี้ไมํถูกละเมิดจากการปรับใช๎หรือดําเนินโปรแกรมพิเศษ
                   ซึ่งมุํงหมายเพื่อบรรเทาความยากลําบากหรือความเสียเปรียบทางเศรษฐกิจหรือเพื่อสนับสนุนให๎บุคคลหรือ

                   กลุํมบุคคลที่เสียเปรียบได๎รับโอกาสที่เทําเทียมกัน หรือเป็นมาตรการที่มุํงขจัดการละเมิดสิทธิแหํงความเทํา
                                        214
                   เทียมกันตามกฎหมายนี้  ในหัวข๎อนี้จะเริ่มจากการพิจารณาหลักการของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก
                   ภายใต๎กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ จากนั้นจะศึกษาตัวอยํางของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกใน
                   กรณีมิติการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา



                           4.6.1 มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกในกรอบของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ


                           ในสํวนนี้จะได๎ชี้ให๎เห็นถึงหลักการและการตีความกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศภายใต๎
                   กรอบสหประชาชาติ ในกรณีของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก


                           ในกรณีของ ICCPR  นั้น พบวําความเห็นทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ
                                              215
                   (General Comment No. 18)  เกี่ยวกับบทบัญญัติของ ICCPR ได๎มีการอธิบายมาตรการยืนยันสิทธิเชิง
                   บวกไว๎วํา “หลักความเทําเทียมกันอาจเกี่ยวข๎องกับการกําหนดให๎รัฐต๎องดําเนินมาตรการยืนยันสิทธิในเชิง
                   บวก เพื่อลดหรือขจัดเงื่อนไขซึ่งกํอให๎เกิดหรือมีสํวนสนับสนุนให๎เกิดการเลือกปฏิบัติอันต๎องห๎ามตาม ICCPR
                   นี้ ตัวอยํางเชํน ในรัฐซึ่งปรากฏสภาพการณ์หรือเงื่อนไขบางประการอันทําให๎คนกลุํมหนึ่งถูกกีดกันหรือ
                   ปฏิเสธสิทธิมนุษยชน รัฐก็จะต๎องมีมาตรการโดยเฉพาะเพื่อแก๎ไขปัญหาหรือสภาพการณ์นี้ มาตรการ

                   ดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับการให้สิทธิพิเศษบางประการกับบุคคลบางกลุ่มเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลกลุ่ม
                   อื่นในชํวงระยะเวลาหนึ่ง ตราบใดที่มาตรการดังกลําวมีความจําเป็นเพื่อการแก๎ไขการเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้น
                   ในความเป็นจริงแล๎ว มาตรการนั้นเป็นกรณีของความแตกต่างกันที่ชอบด้วยกฎหมายตาม ICCPR” จะเห็น

                   ได๎วํา มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก โดยสภาพทั่วไปแล๎วเป็นการปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน แตํเมื่อความ
                   แตกตํางนั้นมีเหตุผลที่ชอบด๎วยกฎหมายเพื่อเป็นการสํงเสริมให๎เกิดความเทําเทียมแกํผู๎ที่เสียเปรียบหรือด๎อย
                   โอกาส ก็ไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ จึงอาจพิจารณาได๎วํา การปฏิบัติที่แตกตํางกันกรณีนี้เข๎าเหตุยกเว๎นทํา
                   ให๎เป็นเพียงความแตกตํางกันอันชอบด๎วยกฎหมาย แตํมิใชํการเลือกปฏิบัติ


                           นอกจากนี้ ความเห็นทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ (General Comment
                          216
                   No.  4)   เกี่ยวกับข๎อ 3 ของ ICCPR  ยังได๎อธิบายวํา ICCPR  ไมํเพียงแตํกําหนดให๎รัฐต๎องมีมาตรการ


                   214  Section 14, Ontario Human Right Code.
                   215  Human Rights Committee, General Comment No. 18
                   216
                      Human Rights Committee, General Comment No.4
   343   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353